Page 8 - วชาปรบอากาศรถยนตรโปรเเกรม
P. 8
4
ระยะระหว่างจุดเยือกแข็งและจุดเดือดของน ้า บนสเกลของเทอร์โมมิเตอร์ชนิดเซลเซียส
จึงมีค่าเป็น 100 องศา จุดเยือกแข็งของน ้าอยู่ที่ 0 องศาเซลเซียสและ จุดเดือดอยู่ที่ 100
องศาเซลเซียส
3.2 เทอร์โมมิเตอร์ชนิดฟำเรนไฮต์ (°F, °ฟ ) ก าหนดจุดเยือกแข็งของน ้าอยู่ที่ 32
องศา และจุดเดือดของน ้าอยู่ที่ 212 องศาภายใต้ความดันบรรยากาศ ช่วงระหว่าง จุด
เยือกแข็งและจุดเดือดของน ้าแบ่งออกเป็น 180 ส่วนเท่า ๆ กัน จุด 0 บนสเกลของ
เทอร์โมมิเตอร์ชนิดฟาเรนไฮต์ก าหนดไว้ที่ต ่ากว่าจุดเยือกแข็งของน ้าลงไปอีก 32 ช่อง จุด
เยือกแข็งของน ้าอยู่ที่ 32 องศาฟาเรนไฮต์ และจุดเดือดอยู่ที่ 212 องศาฟาเรนไฮต์
1. ควำมดัน (Pressure)
ความดันคือแรงที่จะผลักดันหรือน ้าหนักที่จะตกลงบนพื้นที่ 1 ตารางพื้นที่ และ
ส่วนมากจะออกในรูปของน ้าหนักเป็นปอนด์ต่อตารางนิ้ว (Pound per Square Inch
หรือ psi) หรือ กิโลกรัมต่อตารางเซนติเมตร หรือ นิวตันต่อตารางเมตร
สสารที่อยู่บนพื้นผิวโลกทุกชนิดจะถูกแรงดันของอากาศดันอยู่รอบๆ แรงกดดัน
ของอากาศที่มีอยู่ทั่วไปนี้ เรียกว่า ความดันของบรรยากาศ (Atmospheric Pressure)
ซึ่งจะมีค่า เท่ากับ 14.7 ปอนด์ต่อตารางนิ้ว(14.7 psi) หรือ 1,033 kg ต่อตาราง
2
5
เซนติเมตรหรือ1.013 บาร์ (1 bar = 10 N/m )
1.1 ควำมดันสัมบูรณ์ และควำมดันที่เกจวัด (Absolute Pressure and
Gauge Pressure)
ควำมดันสัมบูรณ์ (Absolute Pressure) คือ ความดันที่แท้จริงซึ่งวัดจาก
จุดเริ่มต้น ที่ศูนย์ ส่วนความดันที่เกจวัดคือความดันขณะที่เอาเกจวัดความดัน (Pressure
Gauge) วัดความดันขณะนั้นความดันที่เกจวัดได้จะเริงวัล ต่อจากความดันของ
บรรยากาศ (14.7 psi) ดังนั้น
ความดันสมบูรณ์ = ความดันที่เกจวัด + ความดันของบรรยากาศ
Absolute Pressure = Gauge Pressure + Atmospheric Pressure