Page 51 - วิทยาศาสตร์การกีฬา
P. 51

๔๒




                          ผูที่ฝกมวยไทยจะไดรับการปลูกฝงคุณธรรมจริยธรรมดานตางๆ นับตั้งแตการครอบครู
              การสาบานตน และหลักการของการฝกมวย โดยหลักการฝกมวยนั้น มิไดมุงเพียงฝกฝนใหมีสมรรถภาพ

              ในดานกําลังกาย ความวองไว ความมีปฏิภาณเทานั้น แตมุงฝกจิตใจใหสุภาพ และมีศีลธรรมอันดีดวย
              ดังที่ ผล พระประแดง กลาวไววา “นักกีฬามวยไทยเปนผูรั้งความเสื่อมโทรมของศีลธรรมใหยับยั้งอยู
              เพราะนักกีฬามวยไทยเปนผูมีความตั้งใจ สมัครใจ สามัคคี พรอมเพรียงหมูคณะ แพไมเสียใจ
              ชนะไมหลงตัว ไมอาฆาตแคน ไมเยาะเยยคูตอสู มีวินัยยอมรับคําตัดสินโดยดี ไมเอาเปรียบคูตอสู

              โดยการซํ้าเติมเมื่อคูตอสูพลั้งเผลอ ไมเห็นแกตัว เอื้อเฟอเผื่อแผคนอื่น”


              ó. ¡μÔ¡Ò¡ÒÃᢋ§¢Ñ¹ÁÇÂä·Â

                          กีฬาทุกชนิดเมื่อทําการแขงขันจะตองมีกติกามากําหนดควบคุมการแขงขันใหเปนไปดวย
              ความบริสุทธิ์ยุติธรรม เพื่อปองกันความวุนวายที่จะเกิดขึ้นได มวยไทยก็เชนกันเมื่อทําการแขงขัน
              ก็ตองมีการวางกติกาใหผูเขาแขงขันปฏิบัติเหมือนกันเพื่อความเปนระเบียบและยุติธรรมแกผูเขาแขงขัน

              ทุกฝาย กติกามวยไทยที่ใชกันอยูในปจจุบันเปนกติกาที่ปรับปรุงมาเปนลําดับเพื่อใหเหมาะสมกับ
              กาลสมัยที่แตกตางกัน กติกาการแขงขันมวยไทยฉบับแรกมีใชเมื่อกอตั้งสนามมวยราชดําเนินขึ้น

              อยางเปนทางการโดยปรับปรุงมาจากกติกามวยสากลที่มีการแขงขันกันอยูในเวลานั้น กอนจะคอย
              ปรับปรุงมาจนถึงยุคปจจุบัน มีกติกาการแขงขันที่ออกโดยสํานักงานคณะกรรมการกีฬามวยใหใช
              โดยทั่วกันทุกสนามเพื่อใหมาตรฐานเดียวกัน
                          กติกามวยไทยสมัยปจจุบันจะถูกกําหนดไวอยางชัดเจนครอบคลุมทุกๆ เรื่อง การแขงขัน

              มวยไทยในปจจุบันนักมวยตองสวมนวมขนาด ๔ ออนซ แตงกายแบบนักกีฬามวยคือ สวมกางเกงขาสั้น
              สวมกระจับ สวมปลอกรัดเทาหรือไมก็ได เครื่องรางของขลังผูกไวที่แขนทอนบนได สวนเครื่องรางอื่นๆ

              ใสไดเฉพาะตอนรายรําไหวครูแลวใหถอดออกตอนเริ่มทําการแขงขัน ในการแขงขันมีกรรมการผูชี้ขาด
              บนเวที ๑ คน กรรมการใหคะแนนขางเวที ๒ คน จํานวนยกในการแขงขันมีกรรมการผูชี้ขาดบนเวที ๑ คน
              กรรมการใหคะแนนขางเวที ๒ คน จํานวนยกในการแขงขันมี ๕ ยก ยกละ ๓ นาที พักระหวางยก
              ๒ นาที การแขงขันแบงเปนรุนตามนํ้าหนักตัวของนักมวยเหมือนกับหลักเกณฑของมวยสากล อวัยวะ

              ที่ใชในการตอสูคือ หมัด เทา เขา ศอก เขาชก เตะ ถีบ ถอง เปนตน ไดทุกสวนของรางกายโดยไมจํากัด
              ที่ที่ชก แมไมมวยไทยที่มีอันตรายสูงบางทาถูกหามใชเด็ดขาด อาทิ ทาหลักเพชร  เปนทาจับขาแลวหัก

              ดวยการนั่งทับ เปนตน
                          ¡ÒÃจําá¹¡ÃØ‹¹ ÁÕ ñù ÃØ‹¹ ´Ñ§¹Õé
                          ๑.  รุนพินเวท นํ้าหนักตองเกิน ๙๓ ปอนด (๔๒.๒๗๒  กิโลกรัม) และไมเกิน ๑๐๐ ปอนด

                               (๔๕.๔๕๔ กิโลกรัม)
                          ๒.  รุนมินิฟลายเวท นํ้าหนักตองเกิน ๑๐๐ ปอนด (๔๕.๔๕๔ กิโลกรัม) และไมเกิน
                               ๑๐๕ ปอนด (๔๗.๗๒๗  กิโลกรัม)

                          ๓.  รุนไลทฟลายเวท นํ้าหนักตัวตองเกิน ๑๐๕ ปอนด (๔๗.๗๒๗ กิโลกรัม) และไมเกิน
                               ๑๐๘ ปอนด (๔๘.๙๘๘ กิโลกรัม)
   46   47   48   49   50   51   52   53   54   55   56