Page 49 - วิทยาศาสตร์การกีฬา
P. 49

๔๐




              หนาพระที่นั่ง ทรงโปรดใหขาหลวงหัวเมืองตางๆ คัดนักมวยฝมือดีมาชกกันหนาพระที่นั่งเพื่อหานักมวย
              ที่เกงที่สุดเขาเปนทหารรักษาพระองค สังกัดกรมมวยหลวง พระองคทรงเห็นคุณคาของกีฬาประจําชาติ

              จึงตรัสใหมีการแขงขันมวยไทยขึ้นทั่วประเทศ เพื่อใหเกิดความนิยมกีฬามวยไทยมากขึ้น นอกจากนี้
              ทรงพระกรุณาโปรดเกลาใหมี “มวยหลวง” ตามหัวเมืองตางๆ เพื่อทําหนาที่ฝกสอน จัดการแขงขัน

              และควบคุมการแขงขันมวยไทย ป พ.ศ.๒๔๓๐ รัชกาลที่ ๕ ทรงพระกรุณาโปรดเกลาใหตั้ง
              กรมศึกษาธิการขึ้น ใหมวยไทยเปนวิชาหนึ่งในหลักสูตรของโรงเรียนครูฝกหัดพลศึกษา และโรงเรียนนายรอย

              พระจุลจอมเกลาในสมัยนี้เปนที่ยอมรับวา คือ ยุคทองของมวยไทย
                          »ÃÐÇÑμÔÁÇÂä·ÂÊÁÑÂÃѪ¡ÒÅ·Õè ö
                          สมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกลาเจาอยูหัว (พ.ศ.๒๔๕๓-๒๔๖๘) ระหวางป

              พ.ศ. ๒๔๕๗-๒๔๖๑ ประเทศไทยไดสงทหารเขารวมกับฝายสัมพันธมิตรในสงครามโลกครั้งที่ ๑
              ณ เมืองมาเซย ประเทศฝรั่งเศส โดยมีพลโทพระยาเทพหัสดินเปนแมทัพ ในการนี้ทานไดจัดแสดงมวยไทย

              ใหบรรดาทหารและประชาชนชาวยุโรปไดชม นับเปนครั้งแรกที่มวยไทยไดเผยแพรในทวีปยุโรป ตอมา
              ในป พ.ศ.๒๔๖๔ ภายหลังสงครามโลกครั้งที่ ๑ กีฬามวยไทยก็ยังคงเปนที่นิยมของประชาชนอยางไม

              เสื่อมคลาย และยุคนี้ก็ไดมีสนามมวยถาวรแหงแรกที่จัดการแขงขันมวยไทยเปนประจํานั่นคือบนสนาม
              ฟุตบอลภายในโรงเรียนสวนกุหลาบ จึงเรียกยุคนี้วา “สมัยสวนกุหลาบ”
                          »ÃÐÇÑμÔÁÇÂä·ÂÊÁÑÂÃѪ¡ÒÅ·Õè ÷

                          สมัยพระบาทสมเด็จพระปกเกลาเจาอยูหัว (พ.ศ. ๒๔๖๘-๒๔๗๗) ระหวางป พ.ศ. ๒๔๖๖
              – ๒๔๗๒ พลโทพระยาเทพหัสดินไดสรางสนามมวยหลักเมืองทาชางขึ้น บริเวณโรงละครแหงชาติ

              ในปจจุบัน โดยลักษณะของเวทีมีเชือกกั้นเสนใหญขึ้นและแตละเสนขึงตึงเปนเสนเดียวไมเปดชองตรงมุม
              สําหรับขึ้นลงอยางในยุคเกาเพื่อปองกันมิใหนักมวยตกเวทีตรงชองดังกลาว ตอมาในป พ.ศ.๒๔๗๒

              รัฐบาลไดมีคําสั่งใหยกเลิกมวยคาดเชือกลุมพินีรวมกับมหรสพอื่นๆ โดยคัดเลือกเอานักมวยไทย
              ฝมือดีมาชกกันทุกวันเสาร และมีการสรางเวทีมวยขึ้นตามอยางมาตรฐานสากล คือ มีเชือกกั้นสามเสน

              ใชผาใบปูพื้น มีมุมแดงมุมนํ้าเงิน มีผูตัดสินใหคะแนน ๒ คน และผูตัดสินชี้ขาดการแขงขันบนเวทีอีก
              ๑ คน โดยกําหนดใหใชเสียงระฆัง เปนสัญญาณดวยระฆังเปนครั้งแรก

                          »ÃÐÇÑμÔÁÇÂä·ÂÊÁÑÂÃѪ¡ÒÅ·Õè ø
                          สมัยพระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอนันทมหิดล (พ.ศ.๒๔๗๗ – ๒๔๘๙) ระหวางป
              พ.ศ.๒๔๗๘ ๒๔๘๔ คหบดีผูมีชื่อเสียงในสมัยนั้นไดสรางเวทีมวยขึ้นบริเวณที่ดินของเจาเชต ชื่อ

              สนามมวยสวนเจาเชต ปจจุบันคือที่ตั้งกรมรักษาดินแดน การดําเนินการจัดการแขงขันเปนไปดวยดี
              เนื่องจากทหารเขามาควบคุม เพื่อนํารายไดไปบํารุงกิจการทหาร จัดการแขงขันกันติดตอหลายป

              จึงเลิกไปเพราะเกิดสงครามโลกครั้งที่ ๒ หลังสงครามโลกครั้งที่ ๒ กําลังจะสงบแตยังคงมีเครื่องบิน
              ขาศึกบินลาดตระเวนอยูทั้งกลางวันกลางคืน จําเปนตองจัดการแขงขันชกมวยไทยตามโรงภาพยนตร

              ตางๆ ในเวลากลางวัน เชน สนามมวยพัฒนาการ สนามมวยทาพระจันทร สนามมวยวงเวียนใหญ
              เนื่องจากประชาชนยังคงใหความสนใจมวยไทยอยู
   44   45   46   47   48   49   50   51   52   53   54