Page 56 - วิทยาศาสตร์การกีฬา
P. 56

๔๗



                 ¡ÒÃà´Ô¹ÁÇÂ
                             ¡ÒÃà´Ô¹à¢ŒÒËÒ¤Ù‹μ‹ÍÊÙŒËÃ×ͶÍ ตองดูวาคนมวยนั้นยืนจรดมวยดวยทา ตริภังคะ (อัศวบถ)

                 หรือ  ปรัตญา (นาคาบถ)  เพราะการเดินมวยไทยนั้น  ทุกจังหวะการยางกาว  สามารถเปน

                 ทั้งรุกรับ และสวนกลับไดตลอดเวลา ที่เรียกกันวา “¨Ñ§ËÇÐÁÇ” นั่นเอง การเดินมวยเปนศาสตร
                 (วิชาการแขนงหนึ่ง) และศิลป คือ ประกอบดวยลีลาประดุจดั่งการรายรํา การแขงขันในกีฬา

                 มวยไทยจึงมีการบรรเลงเพลงที่มีทวงทํานองรุกเราแตฟงแลวไพเราะจับใจเปนอยางยิ่ง  ผูชมมวยไทย
                 จึงไดรับทั้งภาพเสียง และกลิ่น (ถาเขาชมในเวทีมวย) นอกจากกลิ่นนํ้ามันหรือกํายานที่นํามาใช

                 ทาตัวคนมวยแลวยังมีกลิ่นอายและความตื่นเตนระคนความฮึกเหิมปะปนอยูดวย ซึ่งผูชมจะไดมี
                 สวนรวมมากกวากีฬาอื่นอีกหลายๆ ประเภท หากยิ่งผูชมไดศึกษาและมีความเขาใจในมวยไทยศิลปะ
                 ปองกันตัวของชาติไทยดวยแลว จะยิ่งมีความสนุกสนานและมีความรัก หวงแหน มวยไทยนี้มาก

                 ยิ่งขึ้นอีกดวย

                             การเดินมวยจึงแบงออกไดเปน ๒ แบบ ตามการยืนจรดมวย คือ
                             Ẻ·Õè ñ  ตริภังคะ (อัศวบถ) เปนการเลียนแบบทาทางการเดินของมา







                                     ñ áÅÐ ó





                                                                                           ò áÅÐ ô






















                             ๑.  กาวเทานําไปขางหนาประมาณครึ่งกาว
                             ๒.  กาวเทาตามเขาประชิดรักษาจังหวะการยืนในทาจรดมวยไว
                             ๓.  ยํ่าเทานําอยูกับที่ ๑ ครั้ง

                             ๔.  ยํ่าเทาตามอยูกับที่ ๑ ครั้ง
   51   52   53   54   55   56   57   58   59   60   61