Page 58 - วิทยาศาสตร์การกีฬา
P. 58

๔๙



                 ‹ҧÊÒÁ¢ØÁ

                             ‹ҧÊÒÁ¢ØÁ จะมีความแตกตางจากทายางสามขุมในการไหวครูมวยไทยอยูพอสมควร
                 กลาวคือ ยางสามขุมในการไหวครูเนนการเคลื่อนที่ไปดวยการรายรําสวยงาม แตการยางสามขุม

                 ในการตอสูเนนไปที่การเดินเพื่อตัดเวทีหรือปดลอมเสนทางการเคลื่อนที่ของคูตอสูในกรณีที่เปนฝายรุก
                 สวนกรณีที่เปนฝายรับจะเปนการถอยอยางมีจังหวะและรอจังหวะสวนกลับในทันทีที่มีโอกาส

                 การยางสามขุมจึงมีความสัมพันธกับการจรดมวย เหลี่ยมมวย วงมวย การเดินมวย การออกอาวุธ
                 และการปองกันสวนกลับ โดยเฉพาะอยางยิ่งการเดินมวยจะมีความสัมพันธกับการยางสามขุมเปนอันแรก

                 จําเปนที่คนมวยผูตองการศึกษาวิชามวยไทยจักตองฝกจนรู เขาใจ และเกิดความชํานาญในทาจรดมวย
                 ในหลี่ยม วงตางๆ ตลอดถึงการยืนจรดมวยและการเดินมวยเปนอยางดีแลว จึงคอยฝกการยาง
                 สามขุมจะเพิ่มทักษะไดดี และรวดเร็วในการปฏิบัติใหมีความกาวหนาไดอยางมาก การยางสามขุม

                 เปนการกาวเขาหรือออก (รุกหรือถอย) พรอมกันกับการจรดมวยเปลี่ยนเหลี่ยม-เปลี่ยนวงหรือ

                 เปลี่ยนทิศทางรุก-รับ การเปลี่ยนการออกอาวุธกระทั่งการเปลี่ยนจังหวะมวยอีกดวย สามารถ
                 แบงออกเปน ๒ จังหวะ คือ



































                                                          จังหวะรุก
                 ¨Ñ§ËÇÐÃØ¡

                             ๑.  ขุมที่ ๑ ยํ่าเทาตามอยูกับที่ ๑ ครั้ง จรดเหลี่ยมวงมวยยังเหมือนเดิม
                             ๒.  ขุมที่ ๒ ยํ่าเทานําอยูกับที่ ๑ ครั้ง จรดเหลี่ยมวงมวยยังเหมือนเดิม

                             ๓.  ขุมที่ ๓ กาวเทาตามไปขางหนา ๑ กาว เปลี่ยนจรดเหลี่ยมวงมวย
   53   54   55   56   57   58   59   60   61   62   63