Page 7 - การแยกตัวประกอบของพหุนามที่มีดีกรีสองและมีตัวแปรเดียว
P. 7
จากการหาผลคูณ (x + 4)(x -5) ดังกล่าว จะได้ขั้นตอนการแยกตัว
ประกอบของ x2- x – 20
โดยท าขั้นตอนย้อนกลับในท านองเดียวกับข้อ 1. ดังนี้
x2- x – 20 = x2 + (-1)x + (-20)
= x2 + [4 + (-5)] x + (4)(-5)
[4 + (-5) = -1 และ (4)(-5) = -20 ]
= x2 + [4x + (-5)x] + (4)(-5)
= (x2 + 4x) + [(-5)x + (4)(-5)]
= (x + 4)x + (x + 4)(-5)
= (x + 4)[x + (-5)]
= (x + 4)(x -5)
นั่นคือ x2 - x - 20 = (x + 4)(x - 5)
ให้สังเกตเช่นเดียวกันว่า เราจะแยกตัวประกอบของ x2- x – 20 ได้
ถ้าเราสามารถหาจ านวนเต็มสองจ านวนที่คูณกันได้เท่ากับพจน์ที่เป็นค่าคง
ตัวคือ -20 และบวกกันได้เท่ากับสัมประสิทธิ์ของ x คือ -1