Page 43 - แนวทางการดำเนินงานป้องกันควบคุมโรคพิษสุนัขบ้าปี 60
P. 43

แนวทางการด�าเนินงานควบคุมโรคในคน

                กรณีตรวจพบหัวสัตว์ให้ผลบวก    1. ปศุสัตว์เขต ปศุสัตว์จังหวัด ปศุสัตว์อ�าเภอ แจ้ง ส�านักงานป้องกันควบคุม

                ต่อเชื้อพิษสุนัขบ้� 1 หัว ในพื้นที่   โรคเขต ส�านักงานสาธารณสุขจังหวัด ส�านักงานสาธารณสุขอ�าเภอ
                ให้ด�าเนินการดังนี้              รพ.สต. ท�าการค้นหาผู้สัมผัสโรคพิษสุนัขบ้าภายใน 48 ชั่วโมง และ
                                                 ติดตามให้มารับวัคซีนตามก�าหนดนัดทุกราย
                                              2. สคร./สสจ./สสอ./รพ.สต. ร่วมสอบสวนและควบคุมโรคร่วมกับพื้นที่

                                                 ภายใน 48 ชั่วโมง
                                              3. สสจ. แจ้งข้อมูลให้ผู้ประสานงานของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง/พื้นที่ข้างเคียง
                                                 แต่ละระดับโดยเร็วที่สุด ภายใน 48 ชั่วโมง
                                              4. สสจ./สสอ./รพ.สต. สื่อสารความเสี่ยงระดับพื้นที่ รวมทั้งแจ้งเตือนไปยัง

                                                 อสม. วิทยุชุมชน และสื่อท้องถิ่น ภายใน 48 ชั่วโมง
                กรณีพบผู้ป่วยสงสัย            1. แยกผู้ป่วยเพื่อป้องกันหรือจ�ากัดการถ่ายทอดเชื้อจากผู้ป่วยหรือผู้ที่อาจ
                หรือยืนยันโรคพิษสุนัขบ้�         แพร่กระจายเชื้อไปยังผู้อื่น สวมใส่เสื้อกาวน์ในกรณีที่เสื้อผ้ามีโอกาส

                ให้ด�าเนินการดังนี้              สัมผัสกับสิ่งคัดหลั่งจากผู้ป่วย การป้องกันรวมถึงการใส่ถุงมือ ผ้าปิดจมูก
                                                 และการใส่แว่นหากต้องมีการตรวจหรือเก็บตัวอย่างส่งตรวจทางห้อง
                                                 ปฏิบัติการ หลังจากดูแลผู้ป่วยต้องล้างมือหลังการสัมผัสกับผู้ป่วยหรือ
                                                 วัตถุปนเปื้อน ก่อนดูแลผู้ป่วยรายต่อไป และวัตถุที่ปนเปื้อนเชื้อต้องทิ้ง

                                                 หรือใส่ถุงโดยเขียนบ่งบอกชนิดก่อนเริ่มกระบวนการท�าลายเชื้อ ซึ่งเชื้อ
                                                 ไวรัสพิษสุนัขบ้ามักเปราะบางและถูกท�าลายได้ง่ายด้วยความร้อน
                                                 แสงแดด ความแห้ง น�้าสบู่ และยาฆ่าเชื้อทั่วๆ ไป

                                              2. ค้นหาผู้สัมผัสโรคและกลุ่มเสี่ยงให้ได้รับการดูแลรักษาและฉีดวัคซีน
                                                 ป้องกันโรคตามแนวทางเวชปฏิบัติภายใน 48 ชั่วโมง และติดตามให้มารับ
                                                 วัคซีนตามก�าหนดนัดทุกราย
                                              3. ด�าเนินการแจ้งข่าว ประสานงานเครือข่ายที่เกี่ยวข้อง และสื่อสารความ
                                                 เสี่ยง (ดังข้อความด้านล่าง)

                กรณีพบผู้เสียชีวิต            1. สสจ. รายงานผู้ว่าราชการจังหวัด ภายใน 24 ชั่วโมง
                ด้วยโรคพิษสุนัขบ้�            2. เปิดศูนย์ประสานงานร่วมระหว่างหน่วยงานด้านสาธารณสุข ปศุสัตว์

                ให้ด�าเนินมาตรการ 1-2-3 ดังนี้   ท้องถิ่น และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ติดตามสถานการณ์และรายงานผล
                                                 การด�าเนินงานของพื้นที่เสนอผู้ว่าราชการจังหวัด
                                              3. ลงพื้นที่เพื่อสอบสวนและควบคุมโรคร่วมกัน ภายใน 24 ชั่วโมง
                                              4. ค้นหาผู้สัมผัสโรคและกลุ่มเสี่ยงให้ได้รับการดูแลรักษาและฉีดวัคซีน
                                                 ป้องกันโรคตามแนวทางเวชปฏิบัติภายใน 48 ชั่วโมง และติดตามให้มารับ

                                                 วัคซีนตามก�าหนดนัดทุกราย
                                              5. สื่อสารความเสี่ยงระดับพื้นที่ รวมทั้งแจ้งเตือนไปยัง อสม. วิทยุชุมชน
                                                 และสื่อท้องถิ่น ภายใน 48 ชั่วโมง

                                              6. ประสานงานหน่วยงานปศุสัตว์ส�ารวจและให้วัคซีนรอบจุดเกิดโรคในรัศมี
                                                 3 กม. (Ring Vaccination)




         38  แนวทางการดำาเนินงานป้องกันควบคุม
               โรคพิษสุนัขบ้า
   38   39   40   41   42   43   44   45   46   47   48