Page 42 - แนวทางการดำเนินงานป้องกันควบคุมโรคพิษสุนัขบ้าปี 60
P. 42
การควบคุม
โรคพิษสุนัขบ้า
โรคพิษสุนัขบ้าเป็นโรคที่ถูกก�าหนดให้สอบสวนเฉพาะราย (Individual Case Investigation) ทันที
ที่พบผู้ป่วย 1 ราย โดยอาศัยเกณฑ์ตามนิยามการเฝ้าระวังโรค ให้รีบด�าเนินการสอบสวนโรคในทันที เพื่อหาปัจจัย
เสี่ยง แหล่งแพร่โรค ผู้สัมผัสสัตว์สงสัยรายอื่น ๆ ประสานงานกับหน่วยงานของทางปศุสัตว์ในการฉีดวัคซีนในสัตว์
และให้สุขศึกษาเพื่อการป้องกันโรคในผู้สัมผัสโรครายอื่นต่อไป
เงื่อนไขการออกสอบสวนโรคที่ส�านักระบาดก�าหนดภายใน 24 ชั่วโมงหลังรับแจ้ง
โรค อำ�เภอ/ศบส. จังหวัด/กทม. เขต ส่วนกล�ง หม�ยเหตุ
พิษสุนัขบ้า ทุกราย ทุกราย พบผู้ป่วยหรือผู้สัมผัสใน พบผู้ป่วยหรือผู้ ดู 506 และ
หลายจังหวัดจากเหตุการณ์ สัมผัสข้ามเขต สคร. ทะเบียนรับแจ้ง
เดียวกัน
เกณฑ์การวินิจฉัยผู้ป่วยโรคพิษสุนัขบ้าในคน
เกณฑ์ก�รวินิจฉัย คว�มหม�ย
1. ผู้ป่วยสงสัย หมายถึง ผู้ป่วยที่มีอาการเข้าได้กับค�านิยามของผู้ป่วยด้วยโรคพิษสุนัขบ้า (อาจมีอาการ
(suspected) ไม่ครบ 3 ประการ ส�าหรับวินิจฉัย furious rabies) และไม่ทราบประวัติการสัมผัสกับ
สัตว์ที่สงสัยว่าเป็นโรคพิษสุนัขบ้า
2. ผู้ป่วยน่าจะเป็น หมายถึง ผู้ป่วยที่มีอาการของ furious rabies ครบถ้วนทั้ง 3 ประการ หรือ paralytic
(probable) rabies ตามอาการทางคลินิก ซึ่งไม่มีผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการ แต่มีประวัติกับ
สัตว์ที่สงสัยว่าเป็นโรคพิษสุนัขบ้า (ควรได้รับการยืนยันจากแพทย์ที่มีประสบการณ์)
3. ผู้ป่วยยืนยัน หมายถึง ผู้ป่วยที่ได้รับการตรวจวินิจฉัยยืนยันทางห้องปฏิบัติการที่เชื่อถือได้ (ทั้งก่อน
(confirmed) หรือหลังเสียชีวิต)
ซึ่งการรายงานผู้ป่วยตามระบบเฝ้าระวังโรค รง.506 (Reporting Criteria) ให้รายงานผู้ป่วยตั้งแต่
"ผู้ป่วยที่เข้าข่าย (Probable case)"
ส�าหรับแบบสอบสวนโรคพิษสุนัขบ้าให้ดูในภาคผนวก 1
แนวทางการดำาเนินงานป้องกันควบคุม 37
โรคพิษสุนัขบ้า