Page 39 - แนวทางการดำเนินงานป้องกันควบคุมโรคพิษสุนัขบ้าปี 60
P. 39
การเฝาระวังโรค การเฝาระวังเหตุการณ
การเฝาระวัง (Case-based surveillance) (Event-based surveillance)
(Surveillance)
ขอมูล (Data) ขาว รายงาน (Reports)
รวบรวม (Collect) หาขาว (Capture)
วิเคราะห (Analyze) กรองขาว (Filter)
การตอบสนอง สัญญาณภัย (Signal) สัญญาณภัย (Signal)
(Response)
ความถูกตอง (Validate) ตรวจสอบ (Verify)
แจงเตือน (Alert)
ประเมินสถานการณ
เตือนภัยทางสาธารณสุข
(Public health alert)
การเสริมสรางความเขมแข็ง สอบสวนโรค
(Post-outbreak strengthening) ประเมินผล มาตรการควบคุมโรค
องค์ประกอบการเฝ้าระวังเตือนภัยล่วงหน้าและตอบสนองทางสาธารณสุข
หลังการระบาด ให้ด�าเนินการดังนี้
1. พื้นที่ที่พบผู้เสียชีวิตด้วยโรคด้วยพิษสุนัขบ้า ให้ด�าเนินการเฝ้าระวังโรคในคนต่อเนื่องเป็นเวลา
อย่างน้อย 1 ปี และเฝ้าระวังโรคในสัตว์เป็นเวลาอย่างน้อย 6 เดือน
2. พื้นที่ที่ไม่เกิดโรคทั้งในคนและในสัตว์ ให้เฝ้าระวังและเตรียมความพร้อมที่จะประกาศเขตปลอด
โรคพิษสุนัขบ้า
3. สร้างเครือข่ายการเฝ้าระวังโรคในพื้นที่ ได้แก่ เจ้าหน้าที่สาธารณสุข ปศุสัตว์ ท้องถิ่น ผู้น�าชุมชน
อาสาสมัคร รวมทั้งหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เพื่อขยายจ�านวน รักษาแหล่งข่าวสาร แลกเปลี่ยนข้อมูล ประสานงาน
และด�าเนินการป้องกันควบคุมโรคแบบบูรณาการ
34 แนวทางการดำาเนินงานป้องกันควบคุม
โรคพิษสุนัขบ้า