Page 34 - แนวทางการดำเนินงานป้องกันควบคุมโรคพิษสุนัขบ้าปี 60
P. 34
แผนผังการตรวจทางหองปฏิบัติการเพื่อวินิจฉัยยืนยันโรคพิษสุนัขบาในคน
แผนผังการตรวจทางหองปฏิบัติการเพื่อวินิจฉัยยืนยันโรคพิษสุนัขบาในคน
เกณฑการพิจารณาสงตัวอยางผูปวยสงสัยโรคพิษสุนัขบา หรือ ไขสมองอักเสบที่ไมทราบสาเหตุ พิจารณาจาก
1. ประวัติสัมผัสสัตว ถูกสัตวเลี้ยงลูกดวยนม ไดแก สุนัข แมว หนู กระตาย กัด ขวน เลียบาดแผล
ชำแหละสัตว หรือกินอาหารดิบที่ปรุงจากสัตวที่เปนโรคพิษสุนัขบา
2. อาการทางคลินิก มาตรการเชิงรุกเพื่อป้องกันควบคุม
- อาการนำ ไดแก มีไข ปวดศีรษะ ออนเพลีย คลื่นไสอาเจียน ปวดเมื่อยกลามเนื้อ ชา และเจ็บเสียวบริเวณแผลที่ถูกสัตวกัดรวมทั้งบริเวณใกลเคียง
คันอยางรุนแรงที่แผลและตามลำตัว
- อาการทางระบบประสาท แบงเปน 3 กลุม ดังนี้ โรคพิษสุนัขบ้าในคน
1. Furious rabies อาการแบบคลุมคลั่ง ตื่นเตน กระวนกระวาย กลัวน้ำ กลัวลม กลืนลำบาก
บวนหรือถมน้ำลายมากกวาปกติ หรือพบอาการทางสมองเปนอาการสำคัญ
2. Paralytic rabies อาการแบบอัมพาต แขนขาออนแรงเปนอาการสำคัญ
3. Atypical rabies ไมมีลักษณะอาการที่บงชี้ใหสงสัยวาเปนโรคพิษสุนัขบาดังเชน 2 กลุมแรก
- มีอาการของโรคไขสมองอักเสบที่ไมทราบสาเหตุ มาตรการเชิงรุกเพื่อป้องกันควบคุมโรคพิษสุนัขบ้าในคน ของกระทรวงสาธารณสุข ปี 2560
1. มาตรการด้านการป้องกันโรค (Prevent)
การสงตัวอยางผูปวยสงสัยโรคพิษสุนัขบา
หรือ ไขสมองอักเสบที่ไมทราบสาเหตุ 1.1 พื้นที่เสี่ยงจัดท�าแผนป้องกันควบคุมโรคพิษสุนัขบ้า
ตรวจทางหองปฏิบัติการ 1.1.1 อ�าเภอเสี่ยง จัดท�าแผนป้องกันควบคุมโรคพิษสุนัขบ้า ตามมาตรการเชิงรุกที่กระทรวงสาธารณสุข
ก�าหนด
กรณีผูปวยยังมีชีวิตอยู กรณีผูปวยเสียชีวิต 1.1.2 ระบบสุขภาพอ�าเภอ (District Health System: DHS) ในพื้นที่จังหวัดเสี่ยงมีแผนป้องกันควบคุม
โรคพิษสุนัขบ้า
เก็บเนื้อสมอง 3-5 ชิ้น
(ชิ้นขนาดเทาเมล็ดถั่วเขียว) 1.2 พัฒนาระบบการประสานงานเพื่อรองรับสถานการณ์ กรณีพบสัตว์สงสัย ผู้สัมผัสหรือสงสัยเป็นโรค
พิษสุนัขบ้า
เก็บสิ่งสงตรวจอยางนอย 3 ชนิด ไดแก วิธีการเก็บตัวอยาง ใชเข็ม Trucut (ที่ใชทำ liver หรือ kidney biopsy) 1.3 พัฒนาระบบเฝ้าระวังโรค และระบบข้อมูลที่เกี่ยวข้องให้มีความครอบคลุม สามารถน�าข้อมูลไปใช้
- น้ำลาย 1-2 มล. ก. เมื่อจะใชงาน ดึงเข็มชั้นในออกมาจนสุด จรดเข็มที่มุมหัวตาดานใน ประโยชน์ได้อย่างมีประสิทธิภาพ
- ปสสาวะ 10 มล. ใหเข็มตั้งฉากกับพื้น คอยๆ ดันเข็ม ซึ่งจะเคลื่อนเขาไปในรูเบาตา
- ปมรากผม อยางนอย 20 เสน ข. ดันเข็มชั้นนอกเขาไปในรูเสนประสาทตาตรงบริเวณโพรงเบาตา คอยๆ 1.4 พัฒนาระบบการเก็บ/ส่งตัวอย่างและการตรวจทางห้องปฏิบัติการเพื่อวินิจฉัยยืนยันโรคพิษสุนัขบ้า
- น้ำไขสันหลัง 1-2 มล. เคลื่อนเข็มผานเขาไปในเนื้อสมองตามความลึกและทิศทางที่ตองการ กรณีพบผู้ป่วย/ผู้เสียชีวิตที่สงสัยโรคพิษสุนัขบ้าหรือไข้สมองอักเสบที่ไม่ทราบสาเหตุทุกราย
ขอควรระวัง ค. ดันเข็มชั้นในอยางแรง (ตบเข็ม) จนสุดปลายเข็ม บริเวณปลายเข็มชั้นใน 1.5 จัดให้มีบริการวัคซีน/อิมมูโนโกบุลิน ป้องกันโรคพิษสุนัขบ้าในสถานบริการสาธารณสุขอย่างเพียงพอ
- ในวันแรกเก็บสิ่งสงตรวจอยางนอย 3 ชนิด หากผลตรวจเปนลบ จะทะลุเขาไปในเนื้อสมอง จับเข็มชั้นในไมใหเคลื่อนที่
ตองสงตัวอยางตอใหครบ 3 วัน โดยเก็บตัวอยางอยางนอย 1 ชนิด ง. ดึงเข็มออกมาพรอมๆ กัน 1.6 พัฒนาศักยภาพบุคลากรทางการแพทย์ สาธารณสุข และหน่วยงานที่เกี่ยวข้องทุกระดับให้มีความรู้ใน
ควรเก็บวันละ 2-3 ครั้ง หางกัน 3-6 ชั่วโมง จ. ดันแกนเข็มชั้นในออก เนื้อสมองจะติดอยูในรองของเข็มชั้นใน การวินิจฉัยดูแลรักษาผู้สัมผัสโรคอย่างถูกต้องตามแนวทางเวชปฏิบัติ และการเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุม
- น้ำลายมีความไวในการตรวจสูงกวาปสสาวะ น้ำไขสันหลัง หรือ ฉ. ใสเนื้อสมองลงในภาชนะปลอดเชื้อ โรคพิษสุนัขบ้า
ปมรากผม จึงควรสงตรวจรวมดวยทุกครั้ง สามารถทำไดหลายๆ ครั้ง หลายทิศทาง เพื่อใหไดเนื้อสมองหลายๆ สวน
ดูวิดีโอสาธิตไดที่ www.cueid.org หัวขอ E-learning 1.7 สื่อสารความเสี่ยงเชิงรุกทั้งก่อน-หลังถูกกัด ให้เหมาะสมและครอบคลุมประชากรกลุ่มเสี่ยง ทั้งในชุมชน
บ้าน วัด โรงเรียน ตลาด โรงงาน เป็นต้น
- เก็บตัวอยางใสภาชนะปลอดเชื้อ ปดฝามิดชิด พันดวยพาราฟนหรือเทปที่ปดแนน จากนั้นบรรจุในถุงพลาสติกกันน้ำอีกชั้น มัดถุงใหแนน
- ภาชนะบรรจุตัวอยางตองติดฉลาก ชื่อ-นามสกุล และวันที่เก็บตัวอยางใหชัดเจน พรอมแบบนำสงตัวอยาง ประวัติและอาการผูปวย 1.8 ส่งเสริมการน�ากฎหมายที่เกี่ยวข้องมาบังคับใช้ รวมทั้งปรับปรุงกฎระเบียบ ข้อบังคับที่เกี่ยวข้องกับ
- ระหวางรอสงตรวจ แชสิ่งสงตรวจในตูเย็นธรรมดา หามแชแข็ง การด�าเนินงานป้องกันควบคุมโรคพิษสุนัขบ้าให้เหมาะสม (พรบ.โรคพิษสุนัขบ้า 2535 / พรบ.
- ตองนำสงในภาชนะเก็บความเย็นที่บรรจุน้ำแข็งอยางเพียงพอ การสาธารณสุข 2535 (การเลี้ยงและปล่อยสัตว์) พรบ.โรคติดต่อ 2558)
- สงหองปฏิบัติการภายใน 24 ชั่วโมง หลังจากเก็บสิ่งสงตรวจ
- โทรแจงหองปฏิบัติการกอนการสงตัวอยางทุกครั้ง 2. มาตรการด้านค้นหาและตรวจจับความผิดปกติ (Detect) :
- การเก็บตัวอยางควรทำดวยความระมัดระวัง ควรใสเสื้อกาวน ถุงมือ หนากากอนามัย แวนตานิรภัย 2.1. ค้นหาผู้สัมผัสโรค (มีประวัติถูกสุนัขบ้ากัด-ข่วน) และกลุ่มเสี่ยงให้ได้รับการดูแลรักษาและฉีดวัคซีน
- ฆาเชื้ออุปกรณโดย แชน้ำยาตามคำแนะนำของแตละชนิด/ตมในน้ำเดือดอยางนอย 5 นาที/อบดวย Autoclave ขยะกำจัดตามมาตรฐานขยะติดเชื้อ
ป้องกันโรคตามแนวทางเวชปฏิบัติภายใน 48 ชั่วโมง และติดตามให้มารับวัคซีนตามก�าหนดนัดทุกราย
* การตรวจโดยวิธี PCR ทราบผลตรวจเร็วที่สุดภายใน 24 ชม. กรณีที่ไมพบความผิดพลาดของสิ่งสงตรวจหรือขั้นตอนการนำสงตัวอยาง 2.2. ส่งตัวอย่างตรวจยืนยันทางห้องปฏิบัติการตามแนวทางที่ก�าหนด ในผู้ป่วยสงสัย หรือเสียชีวิตด้วย
โรคพิษสุนัขบ้า หรือโรคไข้สมองอักเสบที่ไม่ทราบสาเหตุทุกราย
สงตัวอยางตรวจไดที่ หองปฏิบัติการชันสูตรโรคพิษสุนัขบา
1. สถาบันวิจัยวิทยาศาสตรสาธารณสุข กรมวิทยาศาสตรการแพทย โทร. 0 2589 9850 และ 0 2951 0000 ตอ 99205, 99312 2.3 ค้นหาปัจจัยเสี่ยงและพฤติกรรมของการไม่มารับการฉีดวัคซีนป้องกันโรคพิษสุนัขบ้า
2. ศูนยปฏิบัติการโรคทางสมอง โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ โทร. 0 2256 4000 ตอ 3562 โทรสาร 0 2652 3122
3. ภาควิชาจุลชีววิทยา คณะแพทยศาสตรศิริราชพยาบาล (ตรวจเฉพาะ PCR) โทร. 0 2411 0263, 0 2419 8811 แนวทางการดำาเนินงานป้องกันควบคุม 29
โรคพิษสุนัขบ้า
จัดทำโดย : สำนักโรคติดตอทั่วไป กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข โทร 0 2590 3177-8 กรมควบคุมโรค
สำนกโรคติดตอท่วไป