Page 10 - แห่งการเรียนรู้ นิทรรศรัตนโกสินทร์
P. 10

นาฏยศัพท์ ท่าเสียใจ































                     ในจดหมายเหตุลา ลูแบร์ ได้แสดงถึงหลักฐานการมีอยู่ของนาฏศิลป์ไทยในสมัยอยุธยา ที่ได้สืบทอด
               ยาวนานจากรุ่นสู่รุน ได้กลายเป็นเอกลักษณ์อย่างหนึ่งของชาติ นาฏศิลป์ แบ่งได้หลากหลายประเภทยิ่ง ทว่าก็

               ล้วนมีแบบแผนและความเหมือนบางประการอย่าง นาฏยศัพท์ อันได้รับอิทธิพลจากแบบต าราเดียวกัน

                     นาฏยศัพท์ หมายถึง ศัพท์ที่ใช้เกี่ยวกับลักษณะท่าร า ที่ใช้ในการฝึกหัดเพื่อแสดงโขน ละคร เป็นค าที่ใช้

               ในวงการนาฏศิลป์ไทย สามารถสื่อความหมายกันได้ทุกฝ่ายในการแสดงต่าง ๆ"นาฏย" หมายถึง เกี่ยวกับการ

               ฟ้อนร า เกี่ยวกับการแสดงละคร "ศัพท์" หมายถึง เสียง ค า ค ายากที่ต้องแปล เรื่อง เมื่อน าค าสองค ามารวมกัน
               ท าให้ได้ความหมายขึ้นมาเป็น ศัพท์ที่ใช้เกี่ยวกับลักษณะท่าร า นั้นเอง


                     การศึกษาทางด้านนาฏศิลป์ไทย ไม่ว่าจะเป็นการแสดงโขน ละคร หรือระบ าเบ็ดเตล็ดต่าง ๆ ก็ดี ท่าทาง
               ที่ผู้แสดงแสดงออกมานั้นย่อมมีความหมายเฉพาะ ยิ่งหากได้ศึกษาอย่างดีแล้ว อาจท าให้เข้าใจในเรื่องการแสดง

               มากยิ่งขึ้นทั้งในตัวผู้แสดงเอง และผู้ที่ชมการแสดงนั้น ๆ

                     ท่าโศกเศร้า, เสียใจ, ห่วงใย  เป็นการประสานล าแขนส่วนล่าง ใช้ฝ่ามือทั้งสองวางทาบระดับหน้าท้อง

               ใกล้ๆกระดูกเชิงกราน


















                                                           3-9
   5   6   7   8   9   10   11   12   13   14   15