Page 24 - แห่งการเรียนรู้ นิทรรศรัตนโกสินทร์
P. 24

ริ้วขบวนเรือพยุหยาตราชลมารค


















                       ด้วยหลักฐานที่ปรากฏท าให้ทราบว่า สมัยกรุงสุโขทัยพระร่วงเจ้า (พระมหาธรรมราชาที่ 1) ทรงใช้เรือ

               ออกลอยกระทง หรือพิธีจองเปรียง ณ กลางสระน  า พร้อมทั งเผาเทียนเล่นไฟในยามคืนเพ็ญเดือนสิบสอง และ

               นั่นคือการเสด็จทางน  าที่เรียกว่า กระบวนพยุหยาตราชลมารค



                       กระบวนพยุหยาตราชลมารค  หรือ  กระบวนพยุหยาตราทางชลมารค  เป็นกระบวนเสด็จพระราช

               ด าเนินทางน  าที่เป็นราชประเพณีไทยที่มีมาแต่โบราณ  มีหลักฐานมาตั งแต่สมัยกรุงสุโขทัย  ทว่ามีหลักฐาน

               ชัดเจนในสมัยอยุธยา เรือในกระบวนมีการสลักโขนเรือเป็นรูปสัตว์ในเทพนิยาย มีการจัดกระบวนหลายแบบ ที่

               รู้จักกันดีก็คือ "กระบวนพยุหยาตราเพชรพวง" ดังปรากฏใน ลิลิตพยุหยาตราเพชรพวง ลิลิตพรรณนากระบวน

               เรือ ประพันธ์โดยเจ้าพระยาพระคลัง (หน) เมื่อ พ.ศ. 2330 ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก
               โดยยึดถือตามแบบแผนเดิมสมัยอยุธยา



                       ประเภทของการเห่เรือ สามารถจ าแนกออกเป็น 2 ประเภทคือ การเห่เรือหลวง (การเห่เรือในงานพระ

               ราชพิธี) และการเห่เรือเล่น (การเห่เรือเล่นของชาวบ้านในงานต่างๆ) ในปัจจุบันการเห่เรือยังคงอยู่เฉพาะ การ

               เห่เรือหลวง ที่ใช้ในกระบวนพยุหยาตราชลมารค


               เส้นทางเดินเรือ



                    จุดเริ่มต้นของกระบวนเรือนั นคือบริเวณท่าวาสุกรี โดยจะมีการจอดเรือตั งแต่หน้าสะพานกรุงธน ไปถึงหลัง

               สะพานพระราม  8  เรือจะเริ่มออกจากสะพานพระราม  8  ผ่านป้อมพระสุเมรุสะพานสมเด็จพระปิ่นเกล้า

               โรงพยาบาลศิริราช กรมอู่ทหารเรือ ราชนาวิกสภา พระบรมมหาราชวัง หอประชุม ทร. วัดอรุณราชวราราม

               และไปจอดเรืออยู่หน้าวัดกัลยาณมิตร












                                                         11-23
   19   20   21   22   23   24   25   26   27   28   29