Page 1791 - บทคดยอการทดลองสนสด 58 สมบรณ_Neat
P. 1791

รายงานผลการทดลองสิ้นสุด ปี 2558




                       1. ชุดโครงการวิจัย          วิจัยและพัฒนาการอารักขาพืช
                       2. โครงการวิจัย             อนุกรมวิธาน ชีววิทยาและเทคนิคการตรวจวินิจฉัยศัตรูพืชและศัตรู

                                                   ธรรมชาติ

                       3. ชื่อการทดลอง             สัณฐานวิทยาของเมล็ดวัชพืชวงศ์หญ้างวงช้าง Boraginaceae
                                                   Seed Morphology of Boraginaceae Weed

                       4. คณะผู้ดำเนินงาน          ศิริพร  ซึงสนธิพร            ธัญชนก  จงรักไทย 1/
                                                                 1/
                                                   อัณศยา  สุริยะวงศ์ตระการ     มณธิชา  นุ่มดี 1/
                                                                         1/
                       5. บทคัดย่อ

                              ศึกษาสัณฐานวิทยาของเมล็ดวัชพืชวงศ์หญ้างวงช้าง โดยการสำรวจและรวบรวมตัวอย่างพืชสด

                       และเมล็ด ร่วมกับการปลูกเพื่อรวบรวมเมล็ดและศึกษาลักษณะเพื่อตรวจสอบชนิด พบ 1 ชนิด ที่มีลักษณะ
                       แตกต่างกันตามพื้นที่ที่พบ และ 1 ชนิดไม่มีรายงานการเป็นวัชพืชในประเทศไทย รวบรวมตัวอย่างได้

                       4 สกุล จำนวน 8 ชนิด ได้แก่ หญ้าตีนตุ๊กแก Coldenia procumbens L. หญ้ามวนฟ้า Cyanoglossum
                       lanceolatum Forssk. หญ้าดอกขาว Heliotropium bracteatum R.Br. หญ้างวงช้าง Heliotropium

                       indicum L. หญ้างวงช้างดอกขาว Heliotropium lasiocarpum Fisch. & C.A.Mey. (จากจังหวัด
                       กาญจนบุรี และจังหวัดเพชรบูรณ์) จุกนกยูง หรือหญ้านกยูง Heliotropium strigosum Willd.

                       ผักแผ้วขาว Trichodesma indicum (L.) Lehm และต้นเอดส์ หรือปอคัน Trichodesma zeylanicum

                       (Burm.f.) R.Br. เมล็ดวัชพืชแต่ละสกุลแตกต่างกันอย่างชัดเจน สกุลหญ้างวงช้างพบ 5 กลุ่ม จำนวน 4 ชนิด
                       เมล็ดพืชในสกุลหญ้างวงช้างมีรูปร่างคล้ายกัน แต่ขนาดและขนบนเมล็ดแตกต่างกัน

                       6. การนำผลงานวิจัยไปใช้ประโยชน์

                              พัฒนาต่อ


























                       ___________________________________________
                       1/ สำนักวิจัยพัฒนาการอารักขาพืช



                                                          1724
   1786   1787   1788   1789   1790   1791   1792   1793   1794   1795   1796