Page 30 - 015 Rattika
P. 30

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 5

               กลุ่มสาระการเรียนรู้    สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม  สาระที่ 5 ภูมิศาสตร์        ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3

               หน่วยการเรียนรู้ที่ 3    ทวีปอเมริกาใต้                                          เวลา  3   ชั่วโมง


               1. สาระส าคัญ

                              เศรษฐกิจในทวีปอเมริกาใต้ส่วนใหญ่จะเป็นการท าการเกษตรโดยเฉพาะในบริเวณที่ราบลุ่มแม่น ้า

               โอรีโนโก ที่ราบสูงบราซิล พืชผลที่ส าคัญคือ กาแฟ โกโก้ กล้วยและอ้อย ข้าวสาลี ข้าวโพด ฝ้าย มีการเลี้ยง
               สัตว์จ าพวกโค แพะ แกะ ซึ่งประเทศในทวีปอเมริกาใต้มีการเลี้ยงโคเนื้อกันมาก ได้แก่ อาร์เจนตินา อุรุกวัย

               ปารากวัย บราซิล นอกจากนี้ยังมีการท าเหมืองแร่ทองแดง เหล็ก ดีบุก และทองค า อุตสาหกรรมและการค้า

               ของชาวอเมริกาใต้ยังคงล้าหลังกว่าทวีปอเมริกาเหนือ
               2. มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด

               2.1  มาตรฐานการเรียนรู้

                       มาตรฐาน ส 5.2 เข้าใจปฏิสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับสภาพแวดล้อมทางกายภาพที่ก่อให้เกิดการ

                       สร้างสรรค์วัฒนธรรม มีจิตสานึก และมีส่วนร่วมในการอนุรักษ์ ทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม เพื่อการ

                       พัฒนาที่ยั่งยืน


               2.2  ตัวชี้วัด ส 5.1ม.3/1
                       ส 5.2 ม.3/1   วิเคราะห์การ   ก่อเกิดสิ่งแวดล้อมใหม่ทางสังคมอันเป็นผลจากการเปลี่ยนแปลง

                       ทางธรรมชาติและ ทางสังคมของทวีป อเมริกาเหนือและอเมริกาใต้

                       ส 5.2 ม.3/2   ระบุแนวทางการอนุรักษ์ทรัพยากร ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมในทวีปอเมริกาเหนือ
                       และอเมริกาใต้

                       ส 5.2 ม.3/3    ส ารวจ อภิปรายประเด็นปัญหาเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อมที่เกิดขึ้นในทวีป อเมริกาเหนือ

                       และอเมริกาใต้

                       ส 5.2 ม.3/4   วิเคราะห์เหตุและผลกระทบต่อเนื่องจากการเปลี่ยนแปลงของสิ่งแวดล้อมในทวีป

                       อเมริกาเหนือและอเมริกาใต้ ที่ส่งผลต่อประเทศไทย
               3.  จุดประสงค์การเรียนรู้

                     1. อธิบายลักษณะทางเศรษฐกิจของทวีปอเมริกาใต้ได้  (K)

                     2. วิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างลักษณะทางกายภาพกับลักษณะทางเศรษฐกิจของทวีปอเมริกาใต้
               ได้  (K, P)

                     3. แสดงให้เห็นถึงความพร้อมในการเรียนรู้เรื่องลักษณะทางเศรษฐกิจของทวีปอเมริกาใต้  (A)


               4.  สมรรถนะส าคัญของผู้เรียน
   25   26   27   28   29   30   31   32   33   34   35