Page 38 - 1.ประวัติศาสตร์ชาติไทย ประถม สค.12024
P. 38

29





                                ต่อมาในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระ

                  จุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ได้ให้ความส าคัญกับการพัฒนา
                  คุณภาพชีวิตของราษฎรโดยทรงปฏิรูปการศึกษา และ


                  ส่งเสริมให้ราษฎรมีโอกาสเข้ารับการศึกษาอย่างทั่วถึง
                  ทรงจัดตั้งโรงเรียนหลวงแห่งแรกในพระบรมมหาราชวัง

                  และขยายทั่วประเทศ มีโรงเรียนเกิดขึ้นจ านวนมาก

                  ทั้งโรงเรียนหลวง โรงเรียนส าหรับสตรี โรงเรียนฝึกหัดครู

                  โรงเรียนนายร้อยทหารบก โรงเรียนราชแพทยาลัย โรงเรียน
                                                                                หมอบรัดเล ผู้น าการพิมพ์และวิชาการ
                  กฎหมาย เป็นต้น นับเป็นการจัดระบบการศึกษาของ                     แพทย์สมัยโบราณเข้ามาเผยแพร่

                  ประเทศครั้งแรกซึ่งพัฒนาจนถึงปัจจุบันโดยพระมหากษัตริย์               ในสังคมไทยเป็นคนแรก

                  ทุกพระองค์ ได้ให้ความส าคัญกับการศึกษาเพื่อพัฒนาบุคคล      (ที่มาภาพ : หนังสือ “ประวัติศาสตร์ชาติไทย”

                  เป็นอย่างมาก เช่น การออกกฎหมายภาคบังคับให้คนไทย                กรมศิลปากร กระทรวงวัฒนธรรม)

                  ทุกคน ต้องเข้ารับการศึกษาและส่งเสริมให้เรียนต่อในระดับที่สูงขึ้น เปิดโอกาสให้ประชาชน

                  เข้าถึงการศึกษาได้ในหลายรูปแบบ

                                4. ด้านศิลปวัฒนธรรม ขนบธรรมเนียมประเพณี การท านุบ ารุง ด้านศิลปะ

                  วัฒนธรรม ขนบธรรมเนียมประเพณีในสมัยรัตนโกสินทร์ พระมหากษัตริย์ทุกพระองค์ทรงให้

                  ความสนพระทัยเป็นอย่างมาก

                                ในรัชสมัยรัชกาลที่ 1 โปรดให้รื้อฟื้นพระราชพิธีส าคัญครั้งกรุงศรีอยุธยา

                  มาจัดท าให้ถูกต้องตามแบบแผน และมีการบันทึกไว้ เช่น พระราชพิธีบรมราชาภิเษก พระราชพิธี

                  พืชมงคล พระราชพิธีถือน้ าพิพัฒน์สัตยา เป็นต้น

                                ในรัชสมัยรัชกาลที่ 2 เป็นช่วงที่บ้านเมืองค่อนข้างสงบสุข สมัยนี้ศิลปวัฒนธรรม
                  ของชาติรุ่งเรืองเป็นอย่างมาก โดยเฉพาะทางวรรณคดีถือว่าเป็นยุคทอง พระองค์ได้ทรงพระราช


                  นิพนธ์งานวรรณกรรมและบทละครต่าง ๆ เช่น เสภาเรื่องขุนช้างขุนแผน (บางตอน) บทละคร
                  เรื่องอิเหนา ซึ่งได้รับการยกย่องจากวรรณคดีสโมสร ว่าเป็นยอดแห่งบทละครร า มีกวีที่มี

                  ชื่อเสียง เช่น สุนทรภู่ หรือพระศรีสุนทรโวหาร
   33   34   35   36   37   38   39   40   41   42   43