Page 39 - แผนพัฒนา กศน.
P. 39

บทที่ 3

                                 การวิเคราะหตําแหนงยุทธศาสตรของ สํานักงาน กศน.



               3.1 ผลการวิเคราะหสถานการณขององคกรเพื่อกําหนดยุทธศาสตร (SWOT)

                              การวิเคราะหสถานการณ (สภาพแวดลอมภายในและภายนอก) ของสํานักงาน กศน. ใชเทคนิค

               SWOT Analysis ที่ประกอบดวย 4 M’s (Man Money Method and Material) และ PESTEL Politics

               (การเมืองการปกครอง) Economic (ระบบเศรษฐกิจ) Socio-culture (สังคม-วัฒนธรรม) Technology (เทคโนโลยี)
               Environment (สภาพแวดลอม) และLaw (กฎหมายที่เกี่ยวของ)

                              โดยผลการวิเคราะหปจจัยภายใน (จุดแข็งและจุดออน) เบื้องตน กลาวโดยสรุป ดังนี้ ผูบริหารมี
               ความรูความเขาใจเชิงนโยบายทําใหสามารถดําเนินการไดอยางเปนเอกภาพ และบุคลากร กศน. มีความรู

               ความสามารถในการปฏิบัติงานที่หลากหลายตอบสนองตอบตอความตองการของกลุมเปาหมาย แตพบวาจํานวน

               อัตรากําลังไมเพียงพอตอการดําเนินงานการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย หนวยงานในระดับพื้นที่
               ไดรับจัดสรรงบประมาณอยางทั่วถึง แตการจัดสรรงบประมาณดังกลาวไมเพียงพอตอการจัดการศึกษานอกระบบ

               และการศึกษาตามอัธยาศัยที่มีประสิทธิภาพ

                              จากการวิเคราะหยังพบวาหลักสูตการศึกษานอกระบบ พุทธศักราช 2551 ไมเอื้อตอการจัด
               การศึกษาใหสอดคลองตามบริบทของพื้นที่นั้นๆ และยังพบปญหาในการจัดการศึกษานอกระบบ อาทิ เกณฑการ

               เทียบโอนของสถานศึกษาที่ขาดประสิทธิภาพ คูมือการจัดกิจกรรมขาดความชัดเจน ขาดการพัฒนาแนวทางการ

               จัดการเรียนรูภูมิปญญาใหมีความสอดคลองกับความตองการ
                              จากการวิเคราะหปจจัยภายนอก (โอกาสและอุปสรรค) เบื้องตน กลาวโดยสรุป ดังนี้

               ทิศทางการพัฒนาประเทศตามแนวทางยุทธศาสตรชาติ แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ แผนการศึกษาชาติ
               และรัฐบาลไดใหความสําคัญกับการจัดศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอยางทั่วถึงและมีคุณภาพ โดย

               สนับสนุนคาใชจายในการจัดการศึกษาตั้งแตระดับอนุบาลจนจบการศึกษาขั้นพื้นฐาน รวมถึงการขับเคลื่อนตาม

               นโยบายไทยแลนด 4.0 ที่สงผลตอการทํางานเชิงรุก แตเนื่องดวยกฎหมายเกี่ยวกับการศึกษานอกระบบและ
               การศึกษาตามอัธยาศัยสงผลกระทบตอการจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยทําใหขาดเอกภาพ

               3.2 สภาพแวดลอมที่ตองเผชิญในระยะ 20 ป ขางหนา

                              ประเทศไทยในเชิงสังคมมีแนวโนมการเปลี่ยนแปลงของบริบทโลกที่สําคัญมากขึ้นในอนาคต
               ไดแก การเปลี่ยนแปลงโครงสรางประชากรซึ่งนับวาเปนความเสี่ยงและความทาทายสําคัญสําหรับนานาประเทศ

               ประเทศที่พัฒนาแลวและกําลังพัฒนาจํานวนไมนอยตองเผชิญกับความเสี่ยงที่เกิดจากโครงสรางประชากรสูงวัย

               เพิ่มขึ้นตามลําดับ ซึ่งเปนความเสี่ยงจากการขาดแคลนแรงงานและภาระดานงบประมาณที่สูงขึ้น รวมทั้ง
               ผลกระทบตอคุณภาพชีวิตผูสูงอายุ แตในขณะเดียวกันไดรับโอกาสทางการตลาดของผลิตภัณฑและบริการที่


                                                                        แผนพัฒนาการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย พ.ศ. 2560-2579 ของ สํานักงาน กศน.
                                                                                                               34
   34   35   36   37   38   39   40   41   42   43   44