Page 45 - สรปสาระสำคญ-แรงบนดาลใจแหงชวต_Neat
P. 45

ความสามารถท่ีจะควบคุมและประเมินการคิดของตนเอง การคิดเกี่ยวกับการคิด
นบั เป็ นองค์ประกอบสาคญั ของการเรียนรู้อย่างมีประสิทธิภาพ ความรู้ความเข้าใจ
และความสามารถในเรื่องนีส้ ามารถช่วยให้ผู้เรียนควบคุมกากับกระบวนการทาง
ปัญญาของตนได้ การพัฒนาความสามารถในการคิดเกี่ยวกับการคิดของตนหรือ
อภิปัญญา จงึ เป็นเร่ืองสาคญั ท่ีผ้สู อนควรพฒั นาให้เกิดขนึ ้ แก่ผ้เู รียน ซง่ึ ทาได้หลายวิธี
เช่น การให้ผ้เู รียนวางแผนงาน และควบคมุ กากบั ตนเองในการทางาน การให้เขียน
อนุทินสะท้อนความคิดและประสบการณ์ต่างๆ การให้ประเมินผลงานและประเมิน
ตนเอง (จนิ ดารัตน์ โพธ์ินอก. 2556)

        ทฤษฎีรู้คิด สามารถจาแนกแนวคิดของ Cognition และ Meta Cognition
ดงั นี ้(ลกั ขณา สริวฒั น์. 2558)

        4.1.1 ทฤษฎีการรู้คดิ ตามแนวคดิ ของ Cognition ได้แก่
              4.1.1.1 ทฤษฎีกลุ่มพุทธิปัญญานิยม (Cognitivism) พุทธิปัญญา

ให้ความสาคัญในการศึกษาการปฏิสัมพันธ์ระหว่างสิ่งเร้ าภายนอก คือสิ่งต่างๆ
รอบตวั กบั ส่ิงเร้าภายใน คือความรู้ความเข้าใจหรือกระบวนการรู้คิด ท่ีช่วยส่งเสริม
การเรียนรู้ ขอบเขตที่มีความเก่ียวข้องกับขบวนการคิด ได้แก่ ความใส่ใจ การรับรู้
การจาได้ การคิดอย่างมีเหตุผล จินตนาการ หรือการวาดภาพในใจ การคาดการณ์
ลว่ งหน้าหรือมีแผนการรองรับ การตดั สินใจ

              4.1.1.2 ทฤษฎีพฒั นาปัญญาของ Piaget เช่ือวา่ คนเราตงั้ แตเ่ กิด
ทกุ คนนนั้ มีความพร้อมท่ีจะปฏิสมั พนั ธ์กับส่ิงแวดล้อม และโดยธรรมชาตขิ องคนเรา
นัน้ มีความพร้ อมในการเริ่มกระทาก่อน และถือว่ามีพืน้ ฐานติดตัวมาตัง้ แต่เกิด
2 ชนิด คือ

                      1) การจดั และรวบรวม คือการจดั และรวบรวมขบวนการ
ตา่ งๆ ภายในอยา่ งเป็ นระบบ ตอ่ เนื่อง เป็ นระเบียบ และมีการปรับปรุงเปลี่ยนแปลง
อยตู่ ลอดเวลาตราบท่ียงั มีปฏิสมั พนั ธ์กบั สง่ิ แวดล้อม

40 I GEN0113 แรงบนั ดาลใจแหง่ ชีวิต
   40   41   42   43   44   45   46   47   48   49   50