Page 36 - วารสาร สช มค-มีค 61(new)
P. 36
ปัจจัยที่มีผลต่อการพัฒนาคุณภาพตามมาตรฐานโรงพยาบาล (HA)
ง�นวิจัย : กรณีศึกษาโรงพยาบาลชุมชน จังหวัดนครศรีธรรมราช
ปัจจัยด้านการ ระดับความคิดเห็น x 2 df p-value
จัดการ น้อย ปานกลาง มาก รวม
ด้านการทำางานเป็นทีม
Accreditation 11(9.32) 32(27.12) 75(63.56) 118(100.00) 56.888 4 <0.001*
HA
Re-accreditation 8(10.26) 10(12.82) 60(76.92) 78(100.00)
HA
No HA 21(38.18) 25(45.45) 9(16.36) 55(100.00)
รวม 40(15.94) 67(26.69) 144(57.37) 251(100.00)
*p-value < 0.05
ผลการศึกษาการรับรู้ประโยชน์การพัฒนาคุณภาพตามมาตรฐานโรงพยาบาล (HA) พบว่า
โรงพยาบาลที่ผ่าน HA มีการรับรู้ว่าการพัฒนาคุณภาพตามมาตรฐานโรงพยาบาล (HA) มีประโยชน์
ต่อโรงพยาบาล ต่อบุคลากร ต่อผู้รับบริการ ต่อชุมชนและสังคม ในระดับปานกลาง มีค่าคะแนนเฉลี่ยใน
แต่ละด้าน เท่ากับ 3.38 , 3.51 , 3.67 และ 3.56 ตามล�าดับ (ตารางที่ 6)
โรงพยาบาลที่ Re-accreditation มีการรับรู้ว่าการพัฒนาคุณภาพตามมาตรฐานโรงพยาบาล (HA)
มีประโยชน์ต่อโรงพยาบาล ต่อบุคลากร ต่อผู้รับบริการ ต่อชุมชนและสังคม ในระดับปานกลาง มีค่าคะแนน
เฉลี่ยในแต่ละด้าน เท่ากับ 3.61, 3.53, 3.81 และ 3.69 ตามล�าดับ (ตารางที่ 7)
โรงพยาบาลที่ไม่ผ่าน HA มีการรับรู้ว่าการพัฒนาคุณภาพตามมาตรฐานโรงพยาบาล (HA) มี
ประโยชน์ต่อโรงพยาบาล ต่อบุคลากร ต่อผู้รับบริการ ต่อชุมชนและสังคม ในระดับปานกลาง มีค่าคะแนน
เฉลี่ยในแต่ละด้าน เท่ากับ 3.56, 3.58 , 3.76 และ 3.61 ตามล�าดับ (ตารางที่ 8)
ตำรำงที่ 6 แสดงค่าเฉลี่ย (Mean) ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation) การรับรู้ประโยชน์การ
พัฒนาคุณภาพตามมาตรฐานโรงพยาบาล (HA) ในโรงพยาบาลที่ผ่าน HA (n=118)
การรับรู้ประโยชน์ X S.D. ระดับความคิดเห็น
ประโยชน์ต่อโรงพยาบาล 3.38 0.56 ปานกลาง
ประโยชน์ต่อบุคลากร 3.51 0.55 ปานกลาง
ประโยชน์ต่อผู้รับบริการ 3.67 0.52 ปานกลาง
ประโยชน์ต่อสังคมและชุมชน 3.56 0.59 ปานกลาง
รวม 3.53 0.47 ปานกลาง
34
วารสารสุขภาพภาคประชาชน