Page 39 - วารสาร สช มค-มีค 61(new)
P. 39

ปัจจัยที่มีผลต่อการพัฒนาคุณภาพตามมาตรฐานโรงพยาบาล (HA)
                                                         : กรณีศึกษาโรงพยาบาลชุมชน จังหวัดนครศรีธรรมราช  ง�นวิจัย



                          สรุปผลกำรวิจัย                การท�างานเป็นทีม มีผลต่อการพัฒนาคุณภาพตาม
                                                        มาตรฐานโรงพยาบาล (HA)  ผ่านการรับรอง สอดรับ
                    โรงพยาบาลที่ผ่าน  HA,  โรงพยาบาลที่   กับหลายศึกษา เช่น การศึกษาของ หทัยนุช ภู่เพ็ง (5)
            Re-accreditation และโรงพยาบาลที่ไม่ผ่าน HA มี  ที่ท�าการศึกษาในพยาบาลวิชาชีพ โรงพยาบาลชุมชน
            ความคิดเห็นว่า ปัจจัยด้านการจัดการ (ภาวะการน�า   ในภาคเหนือ พบว่า ปัจจัยสนับสนุนด้านลักษณะงาน
            ด้านแรงจูงใจ ด้านการสื่อสาร ด้านการมีส่วนร่วม และ  ปัจจัยสนับสนุนด้านผู้น�า การได้รับการอบรม และวุฒิ
            ด้านการท�างานเป็นทีม) มีผลต่อการพัฒนาคุณภาพ  การศึกษา มีผลต่อการพัฒนาคุณภาพตามมาตรฐาน
            ตามมาตรฐานโรงพยาบาล (HA) แตกต่างกัน โดย           โรงพยาบาล (HA) ผ่านการรับรอง ,การศึกษาของ
            โรงพยาบาลที่ผ่าน HA และโรงพยาบาลที่ Re-accred-  จิรานีย์ สายสนั่น ณ อยุธยา ที่ศึกษาการมีส่วนร่วม
                                                                              (6)
            itation มีความคิดเห็นว่า ปัจจัยด้านการจัดการ มีผล  ในการพัฒนาคุณภาพโรงพยาบาล ของโรงพยาบาล
            เป็นอย่างมาก (ระดับมาก) ต่อการพัฒนาคุณภาพตาม  เอกชน ในกรุงเทพมหานครฯ ระบุว่า การกระตุ้น
            มาตรฐานโรงพยาบาล (HA) ในขณะที่โรงพยาบาลที่  ติดตามการพัฒนาคุณภาพอย่างต่อเนื่องการให้ค�า
            ไม่ผ่าน HA มีความคิดเห็นว่าปัจจัยดังกล่าวข้างต้น มี  ปรึกษาการพัฒนาคุณภาพ การสนับสนุนการท�างาน
            ผลในระดับปานกลาง ต่อการพัฒนาคุณภาพตาม       เป็นทีมความยืดหยุ่นต่อการบริหารจัดการเป็นต้น
            มาตรฐานโรงพยาบาล (HA)                       มีผลต่อการรับรองคุณภาพมาตฐานโรงพยาบาล (HA),

                                                        การศึกษาของ ราตรี ฉิมฉลอง ที่ศึกษาในกลุ่มวิชาชีพ
                                                                               (7)
                  โรงพยาบาลที่ผ่าน HA , โรงพยาบาลที่ Re-ac-
            creditation และโรงพยาบาลที่ไม่ผ่าน HA มีการรับรู้  พยาบาล โรงพยาบาลระดับตติยภูมิ ขนาด 2,203
            ประโยชน์ต่อโรงพยาบาล ต่อบุคลากร มีผลต่อการ  เตียง พบว่า ปัจจัยที่ท�าให้ประสบความส�าเร็จในการ
            พัฒนาคุณภาพตามมาตรฐานโรงพยาบาล (HA) แตก     รับรองคุณภาพตามมาตรฐานโรงพยาบาล (HA)
            ต่างกัน โดยโรงพยาบาลทั้ง 3 กลุ่ม มีการรับรู้ว่าการ  ประกอบไปด้วย ผู้น�าองค์กร การมีส่วนร่วมของ
            พัฒนาคุณภาพตามมาตรฐานโรงพยาบาล (HA) มี      บุคลากร การท�างานเป็นทีม การสร้างวัฒนธรรม
            ประโยชน์ต่อโรงพยาบาล ต่อบุคลากร ต่อผู้รับบริการ   คุณภาพให้เกิดขึ้นในองค์กร การปรับปรุง เรียนรู้และ
            ต่อชุมชนและสังคม ในระดับปานกลาง             พัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่องตลอดเวลา การยึดผู้ป่วย
                                                        เป็นศูนย์กลางในการพัฒนา ความพร้อมด้านปัจจัย
                          กำรอภิปรำยผล                  พื้นฐานในการพัฒนา แกนน�าท�างานคุณภาพที่มุ่งมั่น
                                                        การใช้แผนกลยุทธ์ในการขับเคลื่อนกระบวนการพัฒนา
                    การศึกษาในครั้งนี้พบว่า ปัจจัยด้านภาวะ  คุณภาพการพยาบาล การให้ความส�าคัญกับความสุข
            การน�า ด้านแรงจูงใจ ด้านการสื่อสาร ด้านการมีส่วน  ของคนท�างานในการพัฒนาคุณภาพ วัฒนธรรมองค์กร
            ร่วม และด้านการท�างานเป็นทีม มีผลต่อการพัฒนา  การได้รับพลังอ�านาจ แรงจูงใจในการท�างาน และ
            คุณภาพตามมาตรฐานโรงพยาบาล (HA) เมื่อมองถึง  การให้ความส�าคัญกับคุณค่าของคน, การศึกษาของ
            กรอบแนวคิดการพัฒนาตามคุณภาพโรงพยาบาล        ธีรวิทย์ ตั้งจิตไพศาล ได้ท�าการศึกษาเรื่อง การพัฒนา
                                                                        (8)
            (HA) ซึ่งน�าแนวคิดการจัดการองค์กร มาตรฐาน MB-  คุณภาพโรงพยาบาล : กรณีศึกษาสถาบันบ�าราศนราดูร
            NQA และมาตรฐาน TQA มาประยุกต์ใช้ ประกอบ     พบว่า ปัจจัยความส�าเร็จในการพัฒนาคุณภาพโรง
            ไปด้วย การน�า การวางแผนกลยุทธ์ การมุ่งเน้น  พยาบาล ประกอบด้วย ปัจจัยด้านการศึกษาและฝึก
            ทรัพยากรบุคคล การมุ่งเน้นผู้ป่วยและสิทธิผู้ป่วย การ  อบรม ด้านความเป็นผู้น�าของผู้บริหาร ด้านวัฒนธรรม
            วัดวิเคราะห์และการจัดการความรู้  การจัดการ  องค์กร ด้านการมีส่วนร่วมและท�างานเป็นทีม และการ
                                         (4)
            กระบวนการ เป็นองค์ประกอบส�าคัญ สอดรับกับการ  ศึกษาของธนพร มาสมบูรณ์ ที่ศึกษาปัจจัยที่มีผล
                                                                               (9)
            ศึกษาในครั้งนี้ ที่ระบุว่า ด้านภาวะการน�า ด้านแรง
            จูงใจ ด้านการสื่อสาร ด้านการมีส่วนร่วม และด้าน
                                                                                               37
                                                                วารสารสุขภาพภาคประชาชน
   34   35   36   37   38   39   40   41   42   43   44