Page 52 - จิตรกรรมปริศนาธรรมภาคใต้
P. 52
ปริศนาธรรมท่ีปรากฏในจิตรกรรมฝาผนังของภาคใต้ช่วงรัชกาลท่ี 1-3 จะปรากฏเน้ือหาพุทธประวัติและ ชาดกเป็นเน้ือหาหลักและจะมีภาพแทรก ได้แก่ ภาพวรรณกรรมท้องถ่ินแทรกในภาพชาดก สังคม วรรณคดี เร่ืองรามายนะ ในภาพมารผจญ และเนอื้ หาไตรลกั ษณใ์ นภาพไตรภมู ิ สว่ นเนอื้ หาในชว่ งรชั กาลท่ี 4-6 จะมคี วามชดั เจนปรศิ นาธรรม ดงั เชน่ วัดโพธ์ิปฐมาวาส จังหวัดสงขลา ปรากฏแนวเรื่องปฎิจจสมุปบาท ไตรลักษณ์ ไตรภูมิ วรรณกรรมท้องถิ่นภาคใต้ อสุภะ 10 ธุดงค์ 13 และวัดอ่ืนๆ ท่ีเป็นภาพแทรกในเนื้อหาหลัก ดังเช่น วัดโคกเคียน จังหวัดปัตตานี วัดชลธาราสิงเห เป็นต้น ส่วนเน้ือหาในปริศนาธรรมสมัยรัชกาลท่ี 9 วัดธารน้าไหล สวนโมกขพลาราม จังหวัดสุราษฏร์ธานี ปรากฏภาพแนวเร่ือง ปฎิจจสมุปบาท สมุดภาพปริศนาธรรมไทย เป็นต้น
1.5 คติควํามเช่ือในพระพุทธศําสนําของปริศนําธรรมภําคใต้
ศาสนาเป็นเคร่ืองยึดเหน่ียวและเป็นที่พ่ึงทางใจมนุษย์เมื่อผู้คนเกิดความทุกข์หรือมีความต้องการทางด้านจิตใจ เช่น ความรู้สึกว้าเหว่ เปล่าเปล่ียว ระทมทุกข์ เพราะความไม่สมหวังหรือผลัดพรากจากบุคคลอันเป็นท่ีรัก วัตถุไม่สามารถ ขจัดหรือบรรเทาทุกข์ได้ทาให้มนุษย์หาท่ียึดเหน่ียวให้เกิดความอบอุ่นแก่จิตใจซึ่งศาสนาทาหน้าท่ีดังกล่าวให้กับมนุษย์ ได้อย่างสมบูรณ์ท่ีสุด (ธรรมนูญ วิเศษสิงห์, 2550: 32) งานศิลปะจัดเป็นวัฒนธรรมท่ีสาคัญอย่างหน่ึงของมนุษย์เพราะ แสดงถึงความเจริญงอกงามทางด้านจิตใจของผู้สร้างสรรค์ ผลงานศิลปะของภาคใต้ส่วนใหญ่เกิดจากอิทธิพลของศาสนา โดยเฉพาะศาสนาพราหมณ์และพุทธศาสนาเพราะศิลปะเป็นเคร่ืองมือสาคัญในการเผยแพร่พุทธศาสนาให้กับประชาชน ของภาคใต้
ลักษณะเด่นของพุทธศาสนาของภาคใต้ เกิดจากการส่ังสมองค์ความรู้แล้วพัฒนาเป็นภูมิปัญญา ซ่ึงลักษณะเด่น บางอย่างเป็นอุบายธรรมหรือเป็นเพียงสิ่งท่ีต้องการให้ผู้คนในแถบนี้เข้าถึงพุทธธรรม ด้วยเหตุนี้จึงเป็นส่ิงจาเป็นที่จะต้อง ทาการศึกษาวิเคราะห์ สังเคราะห์ ตีความในจิตรกรรมฝาผนังของภาคใต้เพราะภาพดังกล่าวแฝงเร้นด้วยหลักธรรมคาสอน ของพระพุทธเจ้าซึ่งเป็นเร่ืองความจริงที่มีอยู่ตามธรรมชาติและเป็นของกลางสาหรับทุกคน อันจะนาไปสู่ศูนย์รวมท้ังทาง ด้านจิตใจของคนในชุมชนให้เกิดพลังความสามัคคีกลมเกลียวและอยู่ร่วมกันด้วยความสงบสุขและเป็นอันหน่ึงอันเดียวกัน ทา่ มกลางความเชอื่ ทห่ี ลากหลายในแตล่ ะศาสนาดงั เชน่ ภาพจติ รกรรมฝาผนงั วดั โพธปิ์ ฐมาวาสทผี่ สมผสานความเชอื่ ศาสนา อิสลาม ศาสนาพุทธ ศาสนาพราหมณ์ คติความเชื่อชาวจีนอยู่ในผนังเดียวกัน ซ่ึงเป็นปริศนาธรรมแนวเร่ืองไตรลักษณ์ ในเร่ืองราวความตาย เพราะทุกศาสนาต้องตายเหมือนกัน หนีไม่พ้นจากความตายและความพลัดพราก
ควํามเชื่อในพระพุทธศําสนํา
มณี พยอมยงค์ (2536: 70) ให้ความหมายไว้ว่า ความเช่ือเป็นพื้นฐานให้เกิดการกระทาส่ิงต่างๆ ท้ังด้านดีและ ดา้ นรา้ ยคนโบราณจงึ สรา้ งศรทั ธาใหเ้ กดิ แกล่ กู หลานและปลกู ฝงั ความเชอื่ ใหล้ กึ ลงไปในจติ สา นกึ ของแตล่ ะคน จนไมส่ ามารถ อดถอนได้เมื่อความเชื่อมีเต็มท่ีแล้วจึงทาสิ่งที่ตนต้องการมากกว่าเดิม ความเช่ือนับเป็นพื้นฐานแห่งการนับถือส่ิงศักด์ิสิทธิ์ และศาสนา
42