Page 84 - คู่มือการจัดการเรียนรู้เพื่อพัฒนากระบวนการสอบสวนคดีเด็กและเยาวชน
P. 84

ั
                ิ
           โครงการวจัยการพัฒนากระบวนการจดการและวิเคราะห์วัตถุพยานทางนิตวิทยาศาสตรในคดีเดกและเยาวชน
                                                           ็
                                                       ์
                                                 ิ

                  ควรมุ่งเน้นที่วัตถุพยานที่เสียหายได้ง่ายก่อน เช่น บริเวณที่พบศพ
            1     อาจมีการพบคราบโลหิต เส้นผม เส้นขน เสื้อผ้าที่เปื้อนคราบเลือด
                  ซึ่งสามารถนำมาหาสารพันธุกรรม (DNA) หรือพบรอยลายนิ้วมือ
                  ฝ่ามือ รอยลายเท้าแฝงของผู้กระทำผิด เป็นต้น


                  การตรวจค้นสถานที่เกิดเหตุกลางแจ้ง เริ่มตรวจค้นจากบริเวณรอบนอก
            2
                  จนถึงที่พบศพ โดยใช้รูปแบบวิธีการตรวจค้นตามความเหมาะสม


                  ควรตรวจภายในห้องที่เกิดเหตุร่วมกับแพทย์ชันสูตรพลิกศพ เพื่อให้ได้
            3
                  รายละเอียดว่าผู้ตายเป็นใคร ตายเวลาใด ตรวจดูวัตถุพยานและสิ่งของในตัวศพ
                  และใต้ศพด้วย


                  ควรค้นหาร่องรอยบริเวณที่ถูกรื้อค้น ได้แก่ รอยงัดลูกบิด หน้าต่าง งัดตู้นิรภัย
              4   รื้อค้นชั้นวางโทรทัศน์ ลิ้นชัก ตู้เสื้อผ้า เป็นต้น



                  ควรตรวจค้นยานพาหนะใน 3 บริเวณ ได้แก่ (1) ควรตรวจค้นบริเวณพื้นที่รอบ ๆ
                  ที่ยานพาหนะจอดอยู่ โดยวัตถุพยานที่เชื่อมโยง เช่น รอยเท้า รอยยางรถ อาวุธ
              5   หรือวัตถุอื่น ๆ ที่ผู้กระทำผิดโยนทิ้งหรือทำตกไว้ เช่น ปืน มีด ไม้ ปลอกกระสุน


                  (2) ตรวจค้นด้านนอกของตัวยานพาหนะ เพื่อตรวจหาวัตถุพยาน เช่น รอยลายนิ้วมือ
                  ร่องรอยเฉี่ยวชน รอยครูด รอยแตกของกระจก สารพันธุกรรม (DNA) (3) การตรวจ
                  ค้นภายในยานพาหนะ อาจมีการแบ่งยานพาหนะเป็นตอนหน้า 2 โซน และตอนหลัง

                                                ้
                  2 โซน ให้ผู้รับผิดชอบ แต่ละโซนทำการตรวจคนอย่างละเอียด
                                                               ็
                  3) การตรวจค้นภายในยานพาหนะ อาจมีการแบ่งยานพาหนะเปนตอนหน้า

                                                      ิ้
            6      พิจารณาบริเวณที่มีการต่อสู้อาจจะปรากฏรอยลายนวมือ ฝ่ามือแฝง รอยเท้าแฝง
                   และเส้นผม เส้นขน คราบเลือด เป็นต้น
                   รอยรองเท้า รอยยางรถยนต์ เครื่องมือที่คนร้ายใช้ในการงัดแงะ ก้นบุหรี่ ฯลฯ



                       คู่มือการจัดการความรู้เพื่อพัฒนากระบวนการสอบสวนคดีเด็กและเยาวชน   83
   79   80   81   82   83   84   85   86   87   88   89