Page 82 - คู่มือการจัดการเรียนรู้เพื่อพัฒนากระบวนการสอบสวนคดีเด็กและเยาวชน
P. 82
โครงการวจัยการพัฒนากระบวนการจดการและวิเคราะห์วัตถุพยานทางนิตวิทยาศาสตรในคดีเดกและเยาวชน
์
็
ั
ิ
ิ
ความควบคุมของเจ้าพนักงาน ต้องแจ้งพนักงานอัยการและพนักงานฝ่ายปกครองเข้าร่วม
ชันสูตรพลิกศพด้วย ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 150
จากการรวบรวมข้อมูล คณะผู้วิจัยสรุปดังนี้
2) วัตถุพยานที่สำคัญในคดีเกี่ยวกับชีวิตและร่างกาย
วัตถุพยานที่มีบทบาทสำคัญเพื่อนำมาเชื่อมโยงเหตุการณ์และให้เป็นหลักฐาน
ในคดีเกี่ยวกับชีวิตและร่างกาย ได้แก่ รอยลายนิ้วมือ ฝ่ามือแฝง รอยลายเท้าแฝง เส้นผม
เส้นขน คราบเลือด รอยเท้า รอยยางรถ อาวุธหรือวัตถุอื่น ๆ ที่ผู้กระทำผิดโยนทิ้งหรือทำตกไว้
ร่องรอยเฉี่ยวชน รอยครูด รอยแตกของกระจก สารพันธุกรรม (DNA) เป็นต้น ซึ่งวัตถุพยาน
แต่ละชนิดขึ้นอยู่กับสถานที่เกิดเหตุและพฤติการณ์ของคดี
3) การรวบรวมพยานหลักฐานในคดีเกี่ยวกับชีวิตและร่างกาย
พยานหลักฐานที่ พยานหลักฐานประกอบ หลักฐานที่ได้จากการ
เกี่ยวข้องกับการ ปฏิบัติการ
ดำเนินคด ี
อุปกรณ์ที่ใช้ในการ รอยลายนิ้วมือ ฝ่ามือแฝง รายงานผลการตรวจสถานที่
ุ
กระทำผิด เช่น อาวธปืน รอยลายเท้าแฝง เส้นผม เส้นขน เกิดเหตุ ภาพถ่ายสถานที่
มีด ไม้ เป็นต้น ภาพถ่าย คราบเลือด รอยเท้า รอยยางรถ เกิดเหตุ แผนที่ บันทึก
หรือวีดิโอจากกล้อง อาวุธหรือวัตถุอื่น ๆ ที่ผู้กระทำ คำให้การ บันทึกแสดงความ
วงจรปิด ผิดโยนทิ้งหรือทำตกไว้ ร่องรอย ยินยอม พนักงานสอบสวนและ
เฉี่ยวชน รอยครูด รอยแตกของ แพทย์ต้องบันทึกการตรวจ
กระจก สารพันธุกรรม (DNA) การซักถาม และการกระทำใดๆ
เป็นต้น ต่อผู้เสียหายโดยละเอียด
ผลการตรวจพิสูจน์ เป็นต้น
คู่มือการจัดการความรู้เพื่อพัฒนากระบวนการสอบสวนคดีเด็กและเยาวชน 81