Page 146 - หนังสือเรียน ภาษาไทย พท.21001
P. 146

146 | ห น า








                      เรื่องที่ 3 ชนิดและหนาที่ของประโยค



                  ชนิดของประโยค


                         เมื่อเราทราบลักษณะของประโยคแลว  ก็มาทําความเขาใจเกี่ยวกับประโยคชนิดตางๆ เพิ่มเติม

                  อีก  ประโยคชนิดแรกที่จะกลาวถึง  คือ  ประโยคความเดียว
                         1.  ประโยคความเดียว  (เอกรรถประโยค)  ประโยคชนิดนี้  คือ  ประโยคที่มุงกลาวถึง

                  สิ่งใดสิ่งหนึ่งเพียงสิ่งเดียว  สิ่งนั้นอาจเปนคน สัตว เหตุการณ ฯลฯ อยางใดอยางหนึ่ง และสิ่งนั้นแสดง

                  กิริยาอาการหรืออยูในสภาพอยางเดียว  เชน
                         ก.  นกเกาะตนไม

                         ข.  นายแดงไถนา

                         ค.  มุกดาหารเปนจังหวัดที่เจ็ดสิบสาม
                         สวนสําคัญของประโยคความเดียว

                         ประโยคความเดียวแตละประโยคแบงสวนสําคัญออกเปน   2   สวน   สวนหนึ่งเรียกวา

                  “ภาคประธาน”  คือ  ผูกระทําอาการในประโยค  อีกสวนหนึ่งเรียกวา  “ภาคแสดง”  คือ

                  สวนที่เปนกิริยาและกรรมผูถูกกระทํา  ในประโยค


                   ประโยค                     ภาคประธาน              ภาคแสดง


                   ก.  นกเกาะตนไม           นก                     เกาะตนไม


                   ข.  นายแดงไถนา             นายแดง                 ไถนา


                   ค.  มุกดาหารเปนจังหวัดที่เจ็ด มุกดาหาร           เปนจังหวัดที่เจ็ดสิบสาม

                      สิบสาม



                         2.  ประโยคความรวม  (อเนกรรถประโยค)  คือ  ประโยคที่รวมความเอาประโยคความเดียว

                  ตั้งแต 2 ประโยคขึ้นมารวมเขาดวยกัน โดยมีคําเชื่อมประโยคเหลานั้นเขาดวยกัน

                           2.1  ประโยคที่มีเนื้อความคลอยตามกัน
                                 ประโยคที่ 1  จารุณีเดินทางไปเชียงใหม

                                 ประโยคที่ 2  อรัญญาเดินทางไปเชียงใหม
   141   142   143   144   145   146   147   148   149   150   151