Page 148 - หนังสือเรียน ภาษาไทย พท.21001
P. 148

148 | ห น า



                         3.  ประโยคซอนกัน  (สังกรประโยค)  คือประโยคที่มีขอความหลายประโยคซอนรวมอยูใน
                  ประโยคเดียวกัน  เพื่อใหขอความสมบูรณยิ่งขึ้น

                           1.  ประโยคหลักเรียกวา   มุขยประโยค   ซึ่งเปนประโยคสําคัญมีใจความสมบูรณ

                             ในตัวเอง

                           2.  ประโยคยอย  เรียกวา  อนุประโยค   ประโยคยอยนี้จะตองอาศัยประโยคหลัง
                             จึงจะไดความสมบูรณ

                             ตัวอยาง

                             สรพงษเดินทางไปสงขลาเพื่อแสดงภาพยนตร
                             เขาประสบอุบัติเหตุเพราะความประมาท

                             คนที่ปราศจากโรคภัยไขเจ็บเปนคนโชคดี


                  ตารางประโยคความซอน



                   ประโยคหลัก (มุขยประโยค)       บทเชื่อม           ประโยคยอย (อนุประโยค)


                   สรพงษเดินทางไปสงขลา          เพื่อ              แสดงภาพยนตร

                   เขาประสบอุบัติเหตุ            เพราะ              ความประมาท

                   คน...เปนคนโชคดี              ที่                ปราศจากโรคภัยไขเจ็บ




                         นอกจากประโยคทั้ง  3  ชนิดดังกลาวมาแลว   ยังมีประโยคอีกหลายชนิดที่มิไดเรียงลําดับ

                  ประโยคเหมือนประโยคทั้ง 3 ชนิด  ทั้งนี้  ขึ้นอยูกับความตองการของผูสงสารวาตองการจะเนนสวน

                  ใดของประโยคดวยเหตุนี้จึงทําใหประโยคมีหลายรูปแบบ  ดังนี้
                         1.  ประโยคเนนผูกระทํา   คือ   ประโยคที่ยกผูกระทําขึ้นเปนประธานของประโยคขึ้นกลาว

                  กอนแลวจึงตามดวยภาคแสดง  เชน



                     รูปประโยค               ประธาน            กริยา            กรรม


                  1. ลินดากําลังซื้อผลไม   ลินดา            กําลังซื้อ         ผลไม

                  2. สายชลพูดโทรศัพท     สายชล              พูด                โทรทัพท
   143   144   145   146   147   148   149   150   151   152   153