Page 152 - หนังสือเรียน ภาษาไทย พท.21001
P. 152

152 | ห น า













                      เรื่องที่ 4 หลักในการสะกดคํา



                  สะกดอยางไรใหถูกตอง


                         การใชภาษาในการสื่อสาร  ไมวาจะดวยการพูด  และการเขียน   หรืออานจําเปนตองใชให

                  ถูกตองโดยมีหลักการไวดังนี้

                  การใชตัวสะกด


                         ถาเปนคําภาษาไทยแทจะใชตัวสะกดตรงตามมาตราตัวสะกด  เชน  จง  บิน  ชม  เชย  เดียว

                  ปก  รด  พบ  เปนตน  สวนคําภาษาไทยที่มาจากภาษาตางประเทศนั้นมีทั้งสะกดตรงตามมาตรา  และ
                  ใชตัวสะกดหลายตัวตามรูปศัพทเดิม  โดยเฉพาะภาษาบาลีสันสกฤต  เชน

                         1.  คําในภาษาไทยที่มาจากภาษาเขมร  ภาษาบาลี  สันสกฤตบางคํา  และคําที่มาจากภาษาอื่น

                  ที่ใชตัวสะกดตรงตามมาตรา
                           คําไทยที่มาจากภาษาเขมร  เชน  จํานอง  ดําเนิน  ขจัด  อํานวย  บังคม

                           คําไทยที่มาจากภาษาบาลี  สันสกฤต  เชน ทาน คําไทยที่มาจากภาษาอื่น เชน มังคุด

                         2.  คําไทยที่มาจากภาษาบาลี สันสกฤตมีตัวสะกดอยูในมาตรา  แม  กน  กก  กด  กบ  อาจจะ

                  ใชตัวสะกดไดหลายตัวตามรูปในภาษาเดิม  ดังตัวอยางตอไปนี่




                           2.1  คําในแม  กน  เชน


                   พน     ใช  น     สะกด  แปลวา  ปา ศัพทเดิม  พน  อาน  พะ  นะ



                   ชล     ใช  ล     สะกด  แปลวา  น้ํา ศัพทเดิม  ชล  อาน  ชะ  ละ


                   บุญ    ใช  ญ     สะกด  แปลวา  ความดี  ศัพทเดิม ปุญญ  อาน  ปุน  ยะ


                   คุณ    ใช  ณ     สะกด  แปลวา  ความเกื้อกูล  ศัพทเดิม  คุณ  อาน  คุ  ณะ
   147   148   149   150   151   152   153   154   155   156   157