Page 157 - หนังสือเรียน ภาษาไทย พท.21001
P. 157
ห น า | 157
วัย ” วย
นัย ” นย
อาลัย ” อาลย
อุทัย ” อุทย
อัยยะ ” อยย
อัยยิกา ” อยยิกา
4. การใช ไ-ย (ไอย)
ใชกับคําที่มาจากภาษาบาลีซึ่งมีสระ เอ มี ย สะกด และมี ย ตาม เ ยย เอย ย เมื่อนํามาใชใน
ภาษาไทย แผลงเปน “ไอย” เชน
ไวยากรณ มาจาก เวยฺยากรณ
อธิปไตย ” อธิปเตยฺย
ไทยทาน ” เทยฺยทาน
เวไนย ” เวเนยฺย
อสงไขย ” อสงฺเขยฺย
การใชวรรณยุกต
การใชวรรณยุกตไดถูกตองนั้น จะตองมีความรูในเรื่องตอไปนี้
1. ไตรยางค หรือ อักษร 3 หมู ไดแก
อักษรสูง มี 11 ตัว ไดแก ษ ฆ ฉ ฐ ถ ผ ฝ ศ ษ ส ห
อักษรกลาง มี 9 ตัว ไดแก ก จ ฎ ฏ ด ต บ ป อ
อักษรสูง มี 24 ตัว แบงออกเปน 2 ชนิด ดังนี้
อักษรต่ําคู มี 14 ตัว ไดแก ค ต ฆ ช ฌ ซ ฑ ฒ ท ธ พ ภ ฟ ฮ
อักษรต่ําเดี่ยว มี 10 ตัว ไดแก ง ญ ณ น ม ย ร ล ฬ ว
2. คําเปนคําตาย
2.1 คําเปน คือ คําที่มีลักษณะอยางใดอยางหนึ่งตอไปนี้
ประสมกับสระเสียงยาวในแม ก กา เชน ป มา
ประสมกับสระ อํา ไอ ใอ เอา เชน ไป ใกล ขํา
มีตัวสะกดในมาตราแม กง กน เกย เกอว เชน ตรง จน กลม เชย เดียว
2.2 คําตาย คือ คือที่มีลักษณะอยางใดอยางหนึ่ง