Page 150 - หนังสือเรียน ภาษาไทย พท.21001
P. 150

150 | ห น า









                  หนาที่ของประโยค

                         ประโยคชนิดตางๆ  สามารถบอกความหมายไดตามเจตนาของผูสงสาร  เพราะการสื่อสารกัน

                  ตามปกตินั้น  ผูสงสารอาจมีเจตนาไดหลายประการ ประโยคจึงทําหนาที่ตางๆ กัน  เชน  บอกกลาว

                  เสนอแนะ  ชี้แจง อธิบาย  ซักถาม  วิงวอน  สั่งหาม  ปฏิเสธ  เปนตน ขอความหรือประโยคที่แสดง

                  เจตนาของผูสงสารเหลานี้จะอยูในรูปที่ตางๆ กันไป ซึ่งอาจแบงหนาที่ของประโยคไดเปน 4 ประเภท
                  ดวยกัน  คือ

                         1.  รูปประโยคบอกกลาวหรือบอกเลา ประโยคลักษณะนี้ โดยปกติจะมี  ประธาน  กริยา  และ

                  อาจมีกรรมดวย  นอกจากนี้อาจมีสวนขยายตางๆ เพื่อใหชัดเจน  โดยทั่วไปประโยคบอกเลาจะบงชี้

                  เจตนาวาประธานของประโยคเปนอยางไร

                  ตัวอยาง



                   ประโยค                                 เจตนา


                   ภาษาไทยเปนภาษาประจําชาติของเรา        ภาษาไทยเปนอะไร

                   นองหิวขาว                            นองอยูในสภาพใด





                         2.  รูปประโยคปฏิเสธ  ประโยคนี้แตกตางจากประโยคบอกกลาว  หรือบอกเลาตรงที่มีคําวา

                  “ไม หรือคําที่มีความหมายในทางปฏิเสธ  เชน  “หามิได”  “มิใช”  ประกอบคําอธิบายเสมอไป

                           ตัวอยาง
                                 วันนี้ไมมีฝนเลย

                                 เขามิใชคนเชนนั้น

                                 หามิได  หลอนไมใชคนผิดนัด

                           สําหรับประโยคที่ผูสงสารมีเจตนาที่จะเสนอแนะมักจะใชคําวา   ควรหรือควรจะใน
                  ประโยคบอกเลาสวนในประโยคปฏิเสธ ใชคําวา ไมควรหรือไมควรจะ

                         ประโยคปฏิเสธ “ชาวนาไมควรปลูกมันสําปะหลังในที่นาเพราะจะทําใหดินจืด”

                         3.  ประโยคคําสั่งและขอรอง  ประโยครูปนี้มีลักษณะเดน  คือ  มีแตภาคแสดงเสมอ  สวน

                  ประธานซึ่งตองเปนบุรุษที่ 2 ใหละเวนในฐานที่เขาใจ
   145   146   147   148   149   150   151   152   153   154   155