Page 182 - หนังสือเรียน ภาษาไทย พท.21001
P. 182

182 | ห น า



                  ผูอื่นไดทราบดวย  เชน  การพินิจวรรณคดีและวรรณกรรมเพื่อเปนการแนะนําใหบุคคลทั่วไปที่เปน
                  ผูอานไดรูจักและไดทราบรายละเอียดที่เปนประโยชนในดานตางๆ  เชน  ใครเปนผูแตง   เปนเรื่อง

                  เกี่ยวกับอะไร มีประโยชนตอใครบาง  ทางใดบาง  ผูพินิจมีความเห็นวาอยางไรคุณคาในแตละดาน

                  สามารถนําไปประยุกตใหเกิดประโยชนอยางไรในชีวิตประจําวัน

                  แนวทางในการพินิจวรรณคดีและวรรณกรรม


                         การพินิจวรรณคดีและวรรณกรรมมีแนวใหปฏิบัติอยางกวางๆ เพื่อใหครอบคลุมงานเขียนทุก

                  ชนิดซึ่งผูพินิจจะตองดูวาจะพินิจหนังสือชนิดใด  มีลักษณะเฉพาะอยางไรซึ่งจะมีแนวในการพินิจที่

                  จะตองประยุกตหรือปรับใชใหเหมาะสมกับงานเขียนนั้นๆ
                         หลักเกณฑกวางๆในการพินิจวรรณคดีและวรรณกรรม  มีดังนี้

                         1.  ความเปนมาหรือประวัติของหนังสือและผูแตงเพื่อชวยใหวิเคราะหในสวนอื่นๆ ไดดีขึ้น

                         2.  ลักษณะคําประพันธ
                         3.  เรื่องยอ

                         4.  เนื้อเรื่อง ใหวิเคราะหเรื่องตามหัวขอตามลําดับ โดยบางหัวขออาจจะมีหรือไมมีก็ไดตาม

                  ความจําเปน  เชน  โครงเรื่อง  ตัวละคร  ฉาก  วิธีการแตง  ลักษณะการเดินเรื่อง  การใชถอยคําสํานวน
                  ในเรื่อง  การแตงวิธีคิดที่สรางสรรค ทัศนะหรือมุมมองของผูเขียน  เปนตน

                         5.  แนวคิด จุดมุงหมาย เจตนาของผูเขียนที่ฝากไวในเรื่องซึ่งจะตองวิเคราะหออกมา

                         6.  คุณคาของวรรณคดีและวรรณกรรม ซึ่งโดยปกติแลวจะแบงออกเปน 4 ดานใหญๆ และ

                  กวางๆ  เพื่อความครอบคลุมในทุกประเด็น  ซึ่งผูพินิจจะตองไปแยกแยะหัวขอยอยใหสอดคลองกับ
                  ลักษณะหนังสือที่จะพินิจนั้นๆ ตามความเหมาะสมตอไป

                         การอานวรรณคดีมรดกตองอานอยางพินิจจึงจะเห็นคุณคาของหนังสือ  การอานอยางพินิจ

                  หมายความวาอยางไร
                         การพินิจวรรณคดี  คือการอานวรรณคดีอยางใชความคิด  ไตรตรอง  กลั่นกรอง แยกแยะหา

                  เหตุผลหาสวนดี สวนบกพรองของหนังสือ เพื่อจะไดประเมินคาของหนังสือนั้นๆ อยางถูกตองและมี

                  เหตุผล การอานหนังสืออยางพินิจพิเคราะหมีประโยชนตอชีวิตมาก  เพราะผูพินิจวรรณคดี  จะรูจัก

                  เลือกรับประโยชนจากหนังสือและนําประโยชนไปใชในชีวิตของตนไดและความสามารถในการ
                  ประเมินคาของผูพินิจวรรณคดีจะชวยใหผูพินิจเปนผูมีเหตุผล  มีความยุติธรรมมีวิจารณญาณ การพินิจ

                  วรรณคดีผูพินิจไมควรเอาความรูสึกหรือประสบการณสวนตนมาเปนหลักสําคัญในการตัดสิน

                  วรรณคดี เพราะแตละคนยอมมีความรูสึกและประสบการณตางกัน
                         หลักการพินิจวรรณคดี
   177   178   179   180   181   182   183   184   185   186   187