Page 183 - หนังสือเรียน ภาษาไทย พท.21001
P. 183
ห น า | 183
การพินิจวรรณคดี เปนการแนะนําหนังสือในลักษณะของการวิเคราะหวิจารณหนังสืออยาง
งายๆ โดยบอกเรื่องยอๆ แนะนําขอดีขอบกพรองของวรรณคดี บอกชื่อผูแตง ประเภทของหนังสือ
ลักษณะการแตง เนื้อเรื่องโดยยอๆ คุณสมบัติของหนังสือ ดวยการวิจารณเกี่ยวกับเนื้อหา แนวคิด
ภาษา คุณคา และขอคิดตางๆ ประกอบทัศนะของผูพินิจ ซึ่งเปนลักษณะของการชักชวนใหผูอาน
สนใจหนังสือเลมนั้น การพินิจวรรณคดีเปนการศึกษาและวิเคราะหลักษณะของวรรณคดีเพื่อนํามา
แนะนําใหเกิดความเขาใจซาบซึ้งอยางแจมแจง
การพินิจวรรณคดีมีหลักการพินิจกวางๆ 3 ดานคือ
1. โครงสรางของวรรณคดี
2.ความงดงามทางวรรณคดี
3. คุณคาของวรรณคดี
ดานที่ 1 โครงสรางของวรรณคดี
การที่เราจะพินิจวรรณคดีเรื่องใด เราจะตองพิจารณาวา เรื่องนั้นแตงดวยคําประพันธชนิดใด
โครงเรื่องเนื้อเรื่องเปนอยางไร มีแนวคิดหรือสาระสําคัญอยางไร ตัวละครมีรูปราง ลักษณะนิสัย
อยางไร ฉากมีความหมายเหมาะสมกับเรื่องหรือไม และมีวิธีดําเนินเรื่องอยางไร
ดานที่ 2 ความงดงามทางวรรณคดี
วรรณคดีเปนงานที่สรางขึ้นอยางมีศิลปะ โดยเฉพาะการใชถอยคําเพื่อใหเกิดความไพเราะใน
อรรถรส ซึ่งเราจะพิจารณาไดจากการใชคํา มีทั้งการเลนคํา เลนอักษร พิจารณาไดจากการใชสํานวน
โวหาร กวีโวหาร ซึ่งจะดูจากการสรางจันตภาพ ภาพพจน และพิจารณาจากการสรางอารมณใน
วรรณคดีสิ่งเหลานี้เปนความงดงามทางวรรณคดีทั้งนั้น
โวหารภาพพจน
การใชโวหารภาพพจน คือ การใชถอยคําใหเกิดภาพโดยวิธีการเปรียบเทียบอยางมีศิลปะ
ภาพพจนมีหลายลักษณะ เชน อุปมา อุปลักษณ อธิพจน บุคลาธิษฐาน สัทพจน หรือการใช
สัญลักษณเปนตน
อุปมา คือการเปรียบเทียบเพื่อทําใหเห็นภาพหรือเกิดความรูสึกชัดเจน จึงตองนําสิ่งอื่นที่มี
ลักษณะคลายคลึงกันมาชวยอธิบาย หรือเชื่อมโยงความคิดโดยมีคํามาเชื่อม ไดแก เหมือน เสมือน
ดุจ เลห เฉก ดัง กล เพียง ราว ปูน ฯลฯ
อุปลักษณ เปนการเปรียบเทียบที่ลึกซึ้งกวาอุปมา เพราะเปนการเปรียบสิ่งหนึ่งเปนสิ่งหนึ่ง
มากจนเหมือนกับเปนสิ่งเดียวกันโดยใชคําวา “ เปน กับ คือ ” มาเชื่อมโยง