Page 188 - หนังสือเรียน ภาษาไทย พท.21001
P. 188

188 | ห น า



                         1.  นิยมแตงหนังสือหรือการแตงวรรณคดีดวยคําประพันธรอยกรองมากกวารอยแกว  เปนบท
                  กลอนลักษณะภาษากาพยกลอนที่มีสัมผัสคลองจองสอดคลองกับลักษณะนิสัยของคนไทย  แมภาษา

                  พูดก็มีลีลาเปนรอยกรองแบบงายๆ  เชน  หมอขาวหมอแกง  ขาวยากหมากแพง  ขนมนมเนย  ในน้ํามี

                  ปลาในนามีขาว  ชักน้ําเขาลึก  ชักศึกเขาบาน  เปนตน
                         2.  เนนความประณีตของคําและสํานวนโวหาร  ภาษาที่ใชวรรณคดีไมเหมือนภาษาพูดทั่วไป

                  คือ  เปนภาษาที่มีการเลือกใชถอยคําตกแตงถอยคําใหหรูหรา   มีการสรางคําที่มีความหมายอยาง

                  เดียวกันที่เรียกวา  คําไวพจน  โดยใชรูปศัพทตางๆ  กันเพื่อมิใหเกิดความเบื่อหนายจําเจ  เชน

                         ใชคําวา  ปกษา  ปกษี  สกุณา  สกุณี  ทวิช  แทนคําวา  “นก”
                         ใชคําวา  กุญชร  คช  ไอยรา  หัตถี  กรี  แทนคําวา  “ชาง”

                         นอกจากนั้นยังมีการใชภาษาสัญลักษณ  เชน  ใชคํา  ดวงจันทร  บุปผา  มาลี  เยาวมาลย  แทน

                  คําวา  “ผูหญิง”
                         3.  เนนการแสดงความรูสึกสะเทือนอารมณจากการรําพันความรูสึก   ตัวละครในเรื่องจะ

                  รําพันความรูสึกตางๆ  เชน  รัก  เศรา  โกรธ  ฯลฯ  เปนคํากลอนยาวหลายคํากลอน

                         ตัวอยางอิเหนาคร่ําครวญถึงนางบุษบาที่ถูกลมหอบไป  ดังนี้
                             เมื่อนั้น                       พระสุริยวงศอสัญแดหวา

                         ฟนองคแลวทรงโศกา                 โอแกวแววตาของเรียมเอย

                         ปานฉะนี้จะอยูแหงใด               ทําไฉนจึงจะรูนะอกเอย
                         ฤาเทวาพานองไปชมเชย                 ใครเลยจะบอกเหตุรายดี

                         สองกรพระคอนอุราร่ํา                ชะรอยเวรกรรมของพี่

                         ไดสมนองแตสองราตรี                ฤามิ่งมารศรีมาจากไป

                         พระยิ่งเศราสรอยละหอยหา           จะทรงเสวยโภชนาก็หาไม
                         แตครวญคร่ํากําสรดระทดใจ            สะอื้นไหโศกาจาบัลย

                                                             (อิเหนา   สํานวนรัชกาลที่ 2)
                         4.  มีขนบการแตง  คือ  มีวิธีแตงที่นิยมปฏิบัติแนวเดียวกันมาแตโบราณไดแก  ขึ้นตนเรื่อง

                  ดวยการกลาวคําไหวครู  คือ  ไหวเทวดา  ไหวพระรัตนตรัย  ไหวครูบาอาจารย  สรรเสริญพระเกียรติ

                  คุณของพระมหากษัตริย  หรือกลาวชมบานชมเมือง
                         5.  วรรณคดีไทยมีเนื้อหาเกี่ยวกับชนชั้นสูงมากกวาคนสามัญ   ตัวละครเอกมักเปนกษัตริย

                  และชนชั้นสูง

                         6.  แนวคิดสําคัญที่พบในวรรณคดีไทยโดยทั่วไปเปนแนวคิดแบบพุทธปรัชญางายๆ   เชน

                  แนวคิดเรื่องทําดีไดดี  ทําชั่วไดชั่ว  ความไมเที่ยงตรงของสรรพสิ่ง  อนิจจัง  ความกตัญู  ความ
                  จงรักภักดี  ความรักและการพลัดพราก  เปนตน
   183   184   185   186   187   188   189   190   191   192   193