Page 190 - หนังสือเรียน ภาษาไทย พท.21001
P. 190

190 | ห น า



                         การเลือกใชคําเลียนเสียงธรรมชาติ
                         การเลือกใชคําไวพจนไดถูกตองตรงตามความหมาย

                         การเรียบเรียงคํา  คือการจัดวางคําที่เลือกสรรแลวใหมาเรียบรอยกันอยางตอเนื่องตามจังหวะ

                  ตามโครงสรางภาษาหรือตามฉันทลักษณ  ซึ่งมีหลายวิธี เชน

                         จัดลําดับความคิดหรือถอยคําจากสิ่งสําคัญจากนอยไปหามาก  จนถึงสิ่งสําคัญสูงสุด
                         จัดลําดับความคิดหรือถอยคําจากสิ่งสําคัญนอยไปหามาก  แตกลับหักมุมความคิดผูอานเมื่อถึงจุด

                  สุด

                         จัดลําดับคําใหเปนคําถามแตไมตองการคําตอบหรือมีคําตอบอยูในตัวคําถามแลว
                         เรียงถอยคําเพื่อใหผูอานแปลความหมายไปในทางตรงขามเพื่อเจตนาเยาะเยย  ถากถาง

                         เรียงคําวลี  ประโยคที่มีความสําคัญเทาๆ กัน  เคียงขนานกันไป

                         การใชโวหาร  คือการใชถอยคําเพื่อใหผูอานเกิดจินตภาพเรียกวา “ภาพพจน”  ซึ่งมีหลายวิธีที่
                  ควรรูจัก  ไดแก

                         อุปมา   คือการเปรียบเทียบสิ่งหนึ่งวาเหมือนกับสิ่งหนึ่งโดยมีคําเปรียบปรากฏอยูดวยคํา

                  เปรียบเทียบเหลานี้ไดแก  เหมือน  ดุจ  เลห  เฉก  ดัง  กล   เพียง  ราว  ปูน

                         อุปลักษณ   คือการเนนความหมายวา   สิ่งหนึ่งเหมือนกับสิ่งหนึ่งมากจนเหมือนกับเปนสิ่ง
                  เดียวกันโดยใชคําวา  เปน  กับ  คือ  เชน  “แมเปนโสมสองหลา” “สุจริตคือเกราะบังศาสตรพอง”


                  การพิจารณาวรรณคดีดานสังคม


                         สังคม   คือ   ชนชาติและชุมชนที่อยูรวมกันภายใตการปกครองในกรอบวัฒนธรรมเดียวกัน

                  วรรณคดีเปนเหมือนกระจกเงาที่สะทอนใหผูอานสามารถมองเห็นชีวิตความเปนอยู   คานิยมและ
                  จริยธรรมของคนในสังคมที่วรรณคดีไดสะทอนภาพไวทําใหเขาใจชีวิต  เห็นใจความทุกขยากของ

                  เพื่อนมนุษยดวยกันชัดเจนขึ้น

                         ดังนั้นการพิจารณาวรรณคดีดานสังคมจะตองมีเนื้อหา  ภูมิปญญาที่เกี่ยวกับวัฒนธรรมหรือ
                  จริยธรรมของสังคมใหมีสวนกระตุนจิตใจของผูอานใหเขามามีสวนชวยเหลือในการจรรโลงโลกหรือ

                  พัฒนาสังคมไทยรวมกัน  โดยพิจารณาตามหัวขอ  ดังนี้

                         1.  การแสดงออกถึงภูมิปญญาและวัฒนธรรมของชาติ
                         2.  สะทอนภาพความเปนอยู  ความเชื่อ  คานิยมในสังคม

                         3.  ไดความรู  ความบันเทิง  เพลิดเพลินอารมณไปพรอมกัน

                         4.  เนื้อเรื่องและสาระใหแงคิดทั้งคุณธรรมและจริยธรรมในดานการจรรโลงสังคม  ยกระดับ
                  จิตใจเห็นแบบอยางการกระทําของตัวละครทั้งขอดีและขอควรแกไข
   185   186   187   188   189   190   191   192   193   194   195