Page 195 - หนังสือเรียน ภาษาไทย พท.21001
P. 195
ห น า | 195
ลักษณะของเพลงพื้นบาน
โดยทั่วไปแลวเพลงพื้นบานจะมีลักษณะเดนๆ เปนที่สังเกตไดคือ
1. สํานวนภาษาใชคําธรรมดาพื้นๆ ไมมีบาลีสันสกฤตปน ฟงเขาใจงาย แตถอยคําคมคายอยู
ในตัวทําใหเกิดความสนุกสนาน บางครั้งแฝงไวดวยการใชสัญลักษณแทนคําหยาบตางๆ เปนตนวา ยา
เสน ใบพลูที่นา หัวหมู อุปกรณไถนา เปนตน และเรียบงายทางดานโอกาสและสถานที่เลนไมตอง
ยกพื้นเวที
2. มีความสนุกสนานเพลิดเพลิน มีความคมคายในการใชภาษา กระทบกระเทียบเปรียบ
เปรยชวนใหคิดจากประสบการณที่พบเห็นอยูในวิถีชีวิตทองถิ่น
3. มีภาษาถิ่นปะปนอยูทําใหสะทอนใหเห็นถึงวิถีการดําเนินชีวิต ประเพณีความเชื่อ
ตลอดจนคานิยมตางๆ ที่แฝงอยู
4. มีลักษณะภาษาตองคลองจองกัน ที่เปนกลอนหัวเดียว คือ กลอนที่ลงทายดวยสระชนิด
เดียวกัน เชน กลอนใส ลงเสียงขางทายดวยสระไอตลอด กลอนลี ลงเสียงขางทายดวยสระอีตลอด
เปนตน ตัวอยางเชน ในเพลงไซเอยไซ ลามะลิลา ซึ่งงายตอการเลนมุงใหทุกคนมีสวนรองได
สนุกสนานรวมกัน
5. มักจะมีการรองซ้ํา บางทีซ้ําที่ตนเพลง หรือบางทีซ้ําที่ทอนทายของเพลง เชน เพลง
พิษฐาน เพลงพวงมาลัย เพลงฉอย เปนตน ผลดีของการรองซ้ําๆ กัน ก็คือเพิ่มความสนุกสนานใหผู
อยูรอบขางไดมีสวนรวมในเพลง ทําใหบรรยากาศครึกครื้น และเนื่องจากเปนการปะทะคารมกันสดๆ
ซึ่งชวงการรองซ้ํานี้จะชวยใหไดมีโอกาสคิดคําและพอเพลง แมเพลงจะไดพักเหนื่อย และสามารถใช
ปฏิภาณพลิกแพลง ยั่วลอกันอีกดวย
นอกจากนี้เพลงพื้นบานยังมีลักษณะพิเศษอีก คือ เปนวรรณกรรมมุขปาฐะที่เลาสืบตอกันมา
ปากตอปากไมสามารถจะสืบคนหาตัวผูแตงที่แนนอนไดและมีลักษณะของความเปนพื้นบานพื้นเมือง
ประเภทของเพลงพื้นบาน
เพลงพื้นบานโดยทั่วไปนั้น มีอยูดวยกันหลายชนิด พอจะแยกประเภทโดยแบงตามผูเลนได 2
ประเภทใหญ ๆ คือ
1. เพลงเด็ก จําแนกยอยๆ ได 4 ประเภทดังนี้
1.1 เพลงรองเลน เชน โยกเยกเอย ฝนตกแดดออก นกกระจอกเขารัง
1.2 เพลงหยอกลอ เชน ผมจุก ผมมา ผมเปย ผมแกละ
1.3 เพลงขู ปลอบ เชน แมใครมา น้ําตาใครไหล จันทรเจาขา แตชาแต เขาแหยาย
มา