Page 197 - หนังสือเรียน ภาษาไทย พท.21001
P. 197

ห น า  | 197



                         เพลงพื้นบานเกิดจากชาวบานเปนผูสรางบทเพลงและสืบทอดกันมาแบบปากตอปากโดยการ
                  จดจําบทเพลงเปนคํารองงายๆ  ที่เปนเรื่องราวใกลตัวในทองถิ่นนั้นๆ  จึงทําใหเพลงพื้นบานของไทย

                  ในภาคตางๆ มีความแตกตางกันออกไป  ดังนี้

                         เพลงพื้นบานภาคกลาง  มีอิทธิพลมาจากสภาพแวดลอมทางธรรมชาติ  การประกอบอาชีพ

                  วิถีการดําเนินชีวิต  พิธีกรรมและเทศกาลตางๆ  โดยสามารถแยกประเภทไดดังนี้
                         -  เพลงที่รองเลนในฤดูน้ํามาก  ไดแกเพลงเรือ  เพลงรอยพรรษา  เพลงรําภาขาวสาร  เพลง

                  หนาใย เพลงครึ่งทอน  เปนตน

                         -  เพลงที่รองเลนในฤดูเกี่ยวขาวและนวดขาว   ไดแกเพลงเกี่ยวขาว   เพลงเตนกํารําเคียว
                  เพลงซึ่งใชรองเลนระหวางเกี่ยวขาว   สําหรับเพลงสงฟาง   เพลงพานฟาง   เพลงโอก   เพลงสงคอ

                  ลําพวนเพลงเตะขาว  และเพลงชักกระดาน ใชรองเลนระหวางนวดขาว

                         เพลงที่ใชรองเลนในชวงตรุษสงกรานต  ไดแกเพลงสงกรานต เพลงหยอย เพลงระบําบานไร
                  เพลงชาเจาหงส  เพลงพวงมาลัย  เพลงสันนิษฐาน  เพลงคลองชาง  และเพลงใจหวัง

                         เพลงที่รองเลนไดทุกโอกาส  เพื่อความเพลิดเพลินสนุกสนาน  เกิดความสามัคคีในหมูคณะ

                  มักจะรองเลนกันในโอกาสทํางานรวมกัน   หรือมีงานบุญและงานรื่นเริงตางๆ   โดยเปนเพลงใน
                  ลักษณะพอเพลงแมเพลงอาชีพ ที่ใชโตตอบกันไดแกเพลงเทพทอง  เพลงปรบไก  เพลงอีแวว  เพลง

                  ฉอย  เพลงลําตัด  เพลงทรงเครื่อง  เปนตน

                         เพลงพื้นบานภาคเหนือ  สามารถใชรองเลนไดทุกโอกาสโดยไมจํากัดเทศกาลหรือฤดูใดๆ ซึ่ง

                  ใชรองเพลงเพื่อผอนคลายอารมณและการพักผอนหยอนใจ  โดยลักษณะการขับรองและทวงทํานอง
                  จะออนโยน  ฟงดูเนิบนาบนุมนวล สอดคลองกับเครื่องดนตรีหลัก  ไดแก  ป ซึ่ง สะลอ  เปนตน

                  นอกจากนี้ยังสามารถจัดประเภทของเพลงพื้นบานของภาคเหนือได  3  ประเภทคือ

                         1.  เพลงซอ  ใชรองโตตอบกัน  โดยมีการบรรเลงป  สะลอและซึงคลอไปดวย

                         2.  เพลงจอย  เปนการนําบทประพันธของภาคเหนือมาขับรองเปนทํานองสั้นๆ โดยเนื้อหา
                  ของคํารองจะเปนการระบายความในใจ  แสดงอารมณความรัก  ความเงียบเหงา  มีนักรองเพียงคน

                  เดียวและจะใชดนตรีบรรเลงในโอกาสตางๆ  หรือจอยอําลา

                         3.  เพลงเด็ก  มีลักษณะคลายกับเพลงเด็กของภาคอื่นๆ  คือเพลงกลอมเด็ก  และเพลงที่เด็กใช
                  รองแลนกัน  เพลงอื่อลูก  และเพลงสิกจุงจา

                         เพลงพื้นบานภาคตะวันออกเฉียงเหนือ   เพลงพื้นบานของภาคอีสาน   ใชรองเพื่อความ

                  สนุกสนานในงานรื่นเริงตางๆ สามารถแตงไดตามวัฒนธรรม 3  กลุมใหญๆ  คือกลุมวัฒนธรรมหมอ
                  ลํา  กลุม วัฒนธรรมเพลงโคราช  และกลุมวัฒนธรรมเจรียงกันตรึม  ดังนี้

                         1.  เพลงพื้นบานกลุมวัฒนธรรมหมอลํา  ประกอบดวยหมอลําและเซิ้ง  โดยหมอลําแบงการ

                  ลํานําและการรองออกเปน  5  ประเภทคือ  ลําเรื่อง  ลํากลอน  ลําหมู  ลําเพลิน  และลําผีฟา  สวนเซิ้ง
   192   193   194   195   196   197   198   199   200   201   202