Page 14 - คมองานบรหาร_Neat
P. 14

10

                         4.  ความพยายามที่จะปรับปรุงโครงสร้างการบริหารของต ารวจ เพื่อกระจายการให้บริการ และการ

                             วางแผนระดับชุมชนให้ดีมากยิ่งขึ้น
                             หลักการส าคัญของต ารวจผู้รับใช้ชุมชน ประกอบด้วยหัวข้อใหญ่ ๆ 2 ข้อคือ

                             1)  ต ารวจเป็นหุ้นส่วนกับประชาชน เกาะติดพื้นที่อย่างทั่วถึง

                             2)  ต ารวจน าชุมชนและหน่วยงานอื่นแก้ต้นเหตุอาชญากรรม หรือความไม่เป็นระเบียบของชุมชน
                  หน่วยงานอื่นก็เริ่มน าหลักการยุติธรรมสมานฉันท์ (Restorative Justice Community Justice) เป็นต้น มาใช้

                  ในชุมชน ซึ่งล้วนแล้วแต่สอดรับหรือเป็นแนวทางเดียวกันกับต ารวจผู้รับใช้ชุมชนทั้งสิ้น หรือหลักการต ารวจ

                  ผู้รับใช้ชุมชนนี้ยังสอดรับกับแนวคิดชุมชนเข้มแข็ง หรือพลังแผ่นดินต่อต้านยาเสพติด หรือแม้กระทั่งแนวทาง

                  เศรษฐกิจพอเพียง ซึ่งทุกแนวคิดมีวัตถุประสงค์ให้ครอบครัว ชุมชน มีความสามารถในการพึ่งพาตนเองได้ ดังนั้น

                  ต ารวจก็สามารถที่จะใช้เครือข่ายเหล่านี้เป็นฐานในการท างานต ารวจผู้รับใช้ชุมชนได้ด้วย
                         ทฤษฎีสามเหลี่ยมอาชญากรรม (Crime Tringle Theory)

                         เป็นการอธิบายถึงเหตุหรือองค์ประกอบของการเกิดอาชญากรรม ประกอบด้วยด้านต่าง ๆ

                  ของสามเหลี่ยม 3 ด้าน คือ

                         1. ผู้กระท าผิด/คนร้าย (Offender) หมายถึงผู้ที่มีความต้องการ (Desire) จะก่อเหตุหรือลงมือกระท า

                  ความผิด
                         2. เหยื่อ (Victim) /เป้าหมาย (Target) หมายถึง บุคคล สถานที่ หรือวัตถุสิ่งของ ที่ผู้กระท าผิดหรือ

                  คนร้ายมุ่งหมายกระท าต่อ หรือเป็นเป้าหมายที่ต้องการ

                         3. โอกาส (Opportunity) หมายถึง ช่วงเวลา (Time) และสถานที่ (Place) ที่เหมาะสมที่ผู้กระท าผิด
                  หรือคนร้าย มีความสามารถจะลงมือกระท าความผิดหรือก่ออาชญากรรม เมื่อเหตุหรือสถานการณ์ครบ 3 ด้าน

                  ดังกล่าวข้างต้น จะท าให้เกิดอาชญากรรมขึ้น ทฤษฎีดังกล่าวได้เสนอแนวคิดในการแก้ไขปัญหาอาชญากรรม
                  หรือการป้องกันไม่ให้เกิดอาชญากรรม โดยต้องพยายามท าอย่างไรก็ตามที่จะให้องค์ประกอบของสามเหลี่ยม

                  อาชญากรรมด้านใดด้านหนึ่งหายไปก็จะท าให้อาชญากรรมไม่เกิดขึ้น ดังนั้นในการปฏิบัติงานของต ารวจแต่ละ

                  พื้นที่ควรน าแนวคิดของทฤษฎีดังกล่าวมาใช้ในการป้องกันอาชญากรรมเชิงรุกตามยุทธศาสตร์ของส านักงาน
                  ต ารวจแห่งชาติ กล่าวคือ ต้องพยายามท าให้องค์ประกอบการเกิดอาชญากรรมด้านใดด้านหนึ่งของสามเหลี่ยม

                  หายไป โดยมีวิธีการในการด าเนินการดังต่อไปนี้
                                1.  ด้านผู้กระท าผิดหรือคนร้าย (Offender)

                                ต้องพยายามลดหรือควบคุมจ านวนผู้กระท าผิดหรือคนร้ายในพื้นที่ที่รับผิดชอบ โดยมุ่งเน้น

                  ใช้ทฤษฎีบังคับใช้กฎหมาย เช่น การเฝ้าระวังบุคคลพ้นโทษที่เข้ามาอยู่ในพื้นที่ การก าหนดมาตราการควบคุม

                  แหล่งอบายมุขหรือสถานบริการที่จะเป็นแหล่งเพาะอาชญากรรม การระดมกวาดล้างอาชญากรรมอย่าง

                  สม่ าเสมอ การจับกุมผู้กระท าผิดความผิดตามหมายจับ การสืบสวนหาข่าวเกี่ยวกับแหล่งซ่องสุมของผู้กระท า
                  ความผิดหรือคนร้าย มาตรการตีวงสุรา การปิดล้อมตรวจค้น การไประงับเหตุอย่างรวดเร็วของสายตรวจ
   9   10   11   12   13   14   15   16   17   18   19