Page 12 - คมองานบรหาร_Neat
P. 12
8
สิ่งเสียหายเบื้องต้นนั้นเป็นเหตุเชิญชวนให้มีการกระท าผิดซ้ า (เช่น บุกรุกเข้าไปก่ออาชญากรรมในอาคาร)
การปฏิบัติลักษณะนี้อยู่บนพื้นฐานความเป็นจริงที่ว่า ถ้าปล่อยให้มีการละเมิดกฎหมายโดยไม่จัดการ ก็ต้อง
ละเมิดเพิ่มครั้งขึ้นเรื่อย ๆ (เพราะเห็นว่าไม่เป็นไร) แม้คนที่ไม่เคยคิดว่าจะละเมิดมาก่อนก็เกิดความรู้สึก
คล้อยตาม พลอยท าการละเมิดบ้าง โดยมักคิดให้เหตุผลผิด ๆ แก่ตนเองว่าการกระท าผิดอย่างนั้นเป็น
ความท้าทาย ยิ่งไปกว่านั้นเมื่อท าการละเมิดเรื่องเล็ก ๆ แล้วไม่เป็นไร ต่อไปก็จะหันไปท าการละเมิดเรื่องใหญ่ๆ
ที่ให้ผลเป็นความเสียหายมากกว่า
นอกจากนี้ ความเสียหายและความเสื่อมโทรมที่เกิดจากฝีมือของนักท าลายที่ไร้เหตุผล ยังมีส่วนท าให้
ความศักดิ์สิทธิ์ของกฎระเบียบ และกฎหมายในสังคมเสื่อมถอยลงอีกด้วย เหตุผลส าคัญอีกประการหนึ่งคือ
เมื่อปล่อยให้ความเสียหายเพิ่มมากขึ้นกระทั่งมีสภาพเป็นแหล่งเสื่อมโทรม สุจริตชนคนดีก็มักหลีกเลี่ยงที่จะเข้า
ใกล้หรือเกี่ยวข้องกับพื้นที่นั้น ๆ ในที่สุดพื้นที่ดังกล่าวก็ถูกยึดครองโดยมิจฉาชีพหรือกลุ่มคนผู้ชอบท าตัวถ่วง
สังคม เหตุนี้ หลักปฏิบัติอีกประการหนึ่งของทฤษฎีจึงก าหนดการด าเนินการของต ารวจโดยการพยายามเปิด
โอกาสให้ประชาชนคนดีเข้าครอบครองพื้นที่ให้ได้มากที่สุด ทั้งนี้ เพื่อป้องกันการยึดครองของคนทุจริตไปใน
ตัวด้วย (แนวทางของทฤษฎีนี้คล้ายกับค าพังเพยที่ว่า “ตัดไฟเสียแต่ต้นลม”)
ทฤษฎีเกี่ยวกับเหยื่อวิทยา (Victimology)
การศึกษาเกี่ยวกับเหยื่ออาชญากรรม โดย Lombroso , Garofaro , Ferri โดย Lombroso ได้ตั้ง
ข้อสังเกตว่า “การกระท าความผิดของอาชญากรนั้น เป็นการแสดงออกของอาชญากรอย่างหนึ่งซึ่งแสดงออกมา
เพราะตกอยู่ภายใต้การกดดันของเหยื่ออาชญากรที่ยั่วยุอารมณ์” และ Garofaro ได้ศึกษาเกี่ยวกับเหยื่อ
อาชญากรรมแล้วกล่าวไว้ว่า “ความประพฤติของผู้เสียหายในบางกรณีเป็นต้นเหตุยั่วยุให้มีการประกอบ
อาชญากรรมขึ้น” แต่อย่างไรก็ตาม ยังไม่ได้รับการวิวัฒนาการเพราะต่างมุ่งที่จะศึกษาหาสาเหตุการกระท า
ความผิดของผู้กระท าผิดจากด้านของผู้กระท าความผิดด้านเดียว จนกระทั่งในราวปี ค.ศ.1940 – 1950
นักอาชญาวิทยาได้เริ่มมองเห็นว่าผู้เสียหายมีบทบาทส าคัญในการก่อให้เกิดอาชญากรรม และได้มีนักอาชญา
วิทยาที่มีชื่อเสียงในระยะต่อมา เช่น Hengi , Mendelssohn , Ellenberger , Scafer, Wolfgang ที่ได้
พยายามศึกษาผู้เสียหายเพื่อหาสาเหตุของอาชญากรรม เพื่อน าไปใช้ในการป้องกันผู้เสียหายและปรับปรุงการ
ป้องกันอาชญากรรมให้มีประสิทธิภาพ
ทฤษฎีต ารวจผู้รับใช้ชุมชน (Community Policing Theory)
ต ารวจผู้รับใช้ชุมชน หมายถึง “หลักการท างานของต ารวจ ซึ่งส่งเสริม สนับสนุน แก้ต้นเหตุ เพื่อลด
ปัญหาอาชญากรรม ปัญหาความไม่เป็นระเบียบของชุมชน โดยเทคนิคการแก้ต้นเหตุปัญหา ด้วยการร่วมมือ
ระหว่างต ารวจและชุมชน”