Page 7 - คมองานบรหาร_Neat
P. 7
3
2. จุดอ่อน (Weakness)
2.1 ผู้บังคับบัญชาหรือหัวหน้าหน่วยบางหน่วย ยังไม่สามารถบริหารงานได้อย่าง
มีประสิทธิภาพ ท างานเพื่อแก้ไขปัญหาเฉพาะหน้า ไม่มีการวางแผนระยะยาวอย่างเป็นระบบ
2.2 มีการจัดท าแผนแต่ขาดการขับเคลื่อนที่มีประสิทธิภาพ การควบคุมก ากับดูแล และ
ประเมินผลยังขาดความสมบูรณ์และประสิทธิภาพที่ดี
2.3 ระบบบริหารงานบุคคลยังไม่เอื้ออ านวยต่อการท างานให้บรรลุผล ขาดแผนพัฒนา
บุคลากรของหน่วยงานอย่างต่อเนื่องและเป็นระบบ
2.4 การหมุนเวียนบุคลากรภายในส านักงานต ารวจแห่งชาติยังไม่ค านึงถึงผลสัมฤทธิ์
ของภารกิจหลักและความสามารถของบุคลากร
3. โอกาส (Opportunity)
3.1 บทบัญญัติของกฎหมายเปิดช่องให้ส านักงานต ารวจแห่งชาติมีโอกาสได้รับมอบหมาย
ภารกิจที่ส าคัญหลากหลาย
3.2 สังคมให้ความสนใจการท างานของข้าราชการต ารวจ เพราะการท าหรือไม่ท าหน้าที่
ของข้าราชการต ารวจมีผลกระทบต่อการด าเนินชีวิตของประชาชน
3.3 การพัฒนาการบริหารไปสู่หลักการบริหารจัดการบ้านเมืองที่ดีท าให้ส านักงานต ารวจแห่งชาติ
ต้องปรับปรุงและพัฒนาการปฏิบัติงานภายในเพื่อมุ่งสู่การมีประสิทธิภาพ เกิดความคุ้มค่าและเกิดผลสัมฤทธิ์
ในภารกิจของส านักงานต ารวจแห่งชาติ
3.4 มีอ านาจตามกฎหมายที่คนในสังคมย าเกรง ผู้ร้ายกลัว
4. ภัยคุกคาม (Threat)
4.1 ภาระหน้าที่ล่อแหลมต่อการแสวงหาผลประโยชน์
4.2 การเข้าสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC) พ.ศ. 2558 อาจน ามาซึ่งปัญหาอาชญากรรม
ปัญหาสังคม เช่น อาชญากรรมข้ามชาติ , การค้ามนุษย์ , ยาเสพติด , อาชญากรรมทางเศรษฐกิจ และอาชญากรรม
ที่อาจเกิดกับนักท่องเที่ยว เป็นต้น
4.3 ผู้บริหารระดับสูงของส านักงานต ารวจแห่งชาติไม่สามารถบริหารจัดการได้อย่าง
มีเอกภาพ เนื่องจากการแทรกแซงของฝ่ายการเมือง
ทฤษฎีอาชญาวิทยา
ทฤษฎีการบังคับใช้กฎหมาย (Law Enforcement Approach)
การป้องกันอาชญากรรมได้กลายเป็นเป้าประสงค์ของงานต ารวจ เมื่อ Sir Robert Peel ผู้ก่อตั้ง
กรมต ารวจนครบาลแห่งกรุงลอนดอน ขึ้นเมื่อปี ค.ศ.1859 (Germann et., , 1970) ซึ่งได้รับการยกย่องในเวลา
ต่อมาเป็น “บิดาของการต ารวจยุคใหม่” ได้เน้นให้บุคลากรต ารวจภายใต้บังคับบัญชาได้ตระหนักว่าการป้องกัน
อาชญากรรมคืองานหลักของต ารวจและมีความส าคัญยิ่งกว่าการสืบสวนสอบสวน การจับกุมและการลงโทษ