Page 8 - ch2_Neat
P. 8

CHAPTER 2 หมอมี เภสัชกรสมัยรัชกาลที่ ๕













                                                  คุณนายเพิ่ม เกษมสุวรรณ



                                                    Peum Kasemsuwan










                 นางเพิ่ม เกษมสุวรรณ หรือ คุณย่าเพิ่มของหลาน ๆ เป็น     Peum  Kasemsuwan,  referred  to  as  Grandma
               ที่รักและเคารพของผู้ใต้ปกครองและคนงานทุกคน  ท่านเป็น Peum by her grandchildren, was beloved and high-
               คนใจบุญสุนทาน ท�านุบ�ารุงพุทธศาสนาอยู่เสมอมิได้ขาด แม้ ly respected by all family members and employees.
               ในยามที่คุณปู่หมอมีจากไปแล้ว คุณย่าเพิ่มก็ยังปฏิบัติหน้าที่ She was a dedicated Buddhist. After her husband
               เสาหลักของครอบครัวเกษมสุวรรณได้อย่างดี  ดูแลจัดการทั้ง passed, she had proved herself to be a great lead-
               เรื่องภายในบ้านและเรื่องการสืบสานยาสมุนไพรหมอมีอย่าง er, in charge of both domestic and business mat-
               เรียบร้อย   โดยมีบุตรชายและบุตรสะใภ้ทั้งหลายร่วมแรง ters, with her sons and daughter-in-laws working
               ร่วมใจกันสืบสานต่อมา                            alongside.
                   ในภาพความทรงจ�าของหลาน ๆ คุณย่าเพิ่มใจดี ไม่ค่อย    Each morning, Grandma Peum would be seen
               ดุ แม้ว่าเด็กๆ จะมีความซุกซนไปตามประสาบ้าง ลูก ๆ หลาน  offering food to 30-40 monks who made an alms’
               ๆ  ทุกคนจึงมีความสามัคคีกลมเกลียว  ไม่เคยมีเรื่องทะเลาะ round pass by her property, some on foot and some
               เบาะแว้งกัน  ในตอนเย็นเมื่อสมาชิกครอบครัวกลับมาถึงบ้าน by boat. Other than supporting the Buddhist monks,
               ก็มักจะเข้ามาที่ตึกใหญ่เพื่อร่วมรับประทานอาหารเย็นกับ she made donation for many purposes of public in-
               คุณย่าเพิ่ม   หรือรับประทานอาหารด้วยกันในตอนเช้าก่อน terest.
               แยกย้ายไปท�างานหรือโรงเรียน                         She made a donation to build a monks’ resi-
                   ภาพที่สมาชิกที่อาศัยอยู่ภายในรอบรั้วบ้านสุวรรณเวศม dence named Moh Mee - Peum Kasemsuwan and
               เห็นกันจนชินตา   คือภาพที่คุณย่าเพิ่มจะตื่นขึ้นมาเตรียม to build the red metal fence by the vihara entrance,
               อาหารส�าหรับท�าบุญตักบาตรทุกเช้า สมัยก่อนในแต่ละวันจะ both at Debsirin Temple, which are still in use until
               มีพระมาบิณฑบาตในละแวกบ้านเป็นจ�านวนมากถึง ๓๐-๔๐  today.
               รูป  ทั้งที่เดินบิณฑบาตและพายเรือมาทางน�้า  คุณย่าเพิ่มจะ    She often arranged a boat parade for the year-
               ใส่บาตรพระทุกรูปเป็นประจ�าทุกวัน  อีกทั้งท�าบุญท�ากุศลอยู่ ly robe offering ceremony at her hometown in Po
               เสมอมิได้ขาด      มีหลายอย่างที่ท่านได้สร้างไว้เพื่อเป็น Thong District, Ang Thong Province. Each time she
               ประโยชน์ต่อไปแก่สาธารณชน อย่างเช่น สร้างกุฏิชื่อ หมอมี- would take her employees to travel with the boats
               เพิ่ม   เกษมสุวรรณ     วัดเทพศิรินทราวาสราชวรวิหาร  along the Chao Phraya River, all of them would take
               กรุงเทพมหานคร รั้วเหล็กดัดสีแดงบริเวณทางเข้าโบสถ์ ซึ่งวัด turn joining the trip so they’d get a travelling bonus
               ยังได้ในประโยชน์จนถึงปัจจุบัน                   as well as an opportunity to make merit. The dona-
                   จัดงานทอดกฐินโดยเฉพาะที่จังหวัดอ่างทองอันเป็นบ้าน tion from many years of ceremony went to building
               เกิดของท่าน  สร้างโรงเรียนเพิ่มพิทยาพูน  ที่อ�าเภอโพธิ์ทอง  Peum Pittaya Poon School in Ang Thong, Wat Tan
               จังหวัดอ่างทอง  โดยทุกครั้งที่ท่านจัดขบวนกฐิน  ก็จะตกแต่ง Ched Chor School (Moh Mee-Peum Kasemsuwan),
               เรือ  ติดธงสวยงาม  ติดป้ายผ้าเขียนว่าไปทอดกฐินที่ไหน  มี Wat Chaiyo Vara Vihara School (Peum Kasemsu-
               เครื่องขยายเสียง  แล้วพากันล่องขึ้นไปทางแม่น�้าเจ้าพระยา wan), a street from the pier to Wat Sila Khanda and
               โดยทุกครั้งท่านจะพาคนงานหมอมีไปด้วย   โดยการให้จับ a donation to Wat Bodhi Krieb.



                                                            28

                                                       ๑ ๑ ๙ ปี  ห ม อ มี คู่ คุ ณ
   3   4   5   6   7   8   9   10   11   12   13