Page 10 - 11. รายงานกิจกรรม KM กลุ่ม AVM Chamber Flight_มี.ค.60_V3 (final)
P. 10
- ๙ -
๔. วัตถุประสงค์ของกิจกรรม
๔.๑ วัตถุประสงค์
เพื่อให้ น./จนท.เวชศาสตร์การบิน ผู้ปฏิบัติงานห้องปรับบรรยากาศของ รพ.จันทรุเบกษา พอ.
สามารถปฏิบัติการบินทางห้องปรับบรรยากาศชนิดความกดดันต่ า แบบบินที่ ๑ ส าหรับศิษย์การบิน ประถม ได้
อย่างถูกต้องและปลอดภัย
๔.๒ ตัวชี้วัดและเป้าหมาย
ตัวชี้วัด ร้อยละของเจ้าหน้าที่เวชศาสตร์การบิน ปฏิบัติการบินทางห้องปรับบรรยากาศ ชนิด
ความกดดันต่ า แบบบินที่ ๑ ได้ในระดับดีขึ้นไป
เป้าหมาย ร้อยละ ๑๐๐
ก่อนท ากิจกรรม ได้ท าการประเมินระดับความรู้ความสามารถในการปฏิบัติการบินทางห้องปรับ
บรรยากาศ ชนิดความกดดันต่ า แบบบินที่ ๑ ของ น./จนท.เวชศาสตร์การบิน ผู้ปฏิบัติงานห้องปรับบรรยากาศ
ของ รพ.จันทรุเบกษา พอ. พบว่า น./จนท.เวชศาสตร์การบินฯ จ านวน ๑๔ คน ที่มีความรู้ในระดับดีมาก จ านวน
๔ คน (ร้อยละ ๒๘.๕๗), ระดับดี ๘ คน (ร้อยละ ๕๗.๑๔) และพอใช้ ๒ คน (ร้อยละ ๑๔.๒๙) รวมผู้ที่ความรู้
ระดับดีขึ้นไป มีจ านวน ๑๒ คน คิดเป็นร้อยละ ๘๕.๗๑
๕. แนวคิด/ทฤษฎี/เครื่องมือคุณภาพอื่นๆ ที่ใช้ในการด าเนินกิจกรรม
การจัดการความรู้ (Knowledge Management : KM) คือ การรวบรวมองค์ความรู้ที่มีอยู่ในองค์กร ซึ่ง
กระจัดกระจายอยู่ในตัวบุคคล หรือเอกสาร มาพัฒนาให้เป็นระบบ เพื่อให้เกิดการพัฒนาคน พัฒนางาน และ
เพิ่มประสิทธิภาพของหน่วยงาน และทฤษฎีการสร้างความรู้ตามแนวคิด “เกลียวความรู้” หรือ SECI model
(โนนากะ และทาเคอูชิ) เนื่องจากในชีวิตจริง ความรู้ ๒ ประเภทนี้จะเปลี่ยนสถานภาพ สลับปรับเปลี่ยนไป
ตลอดเวลา ระหว่าง Tacit และ Explicit เป็นกระบวนการที่หมุนเวียนเกิดเป็นความรู้ใหม่ ๆ ไปเรื่อย ๆ