Page 12 - 11. รายงานกิจกรรม KM กลุ่ม AVM Chamber Flight_มี.ค.60_V3 (final)
P. 12
- ๑๑ -
(๒) เนื่องจากการบินทางห้องปรับบรรยากาศเป็นกระบวนการปฏิบัติที่มีขั้นตอน
ค่อนข้างมาก ต่อเนื่องเชื่อมโยงกันทุกระบบ ยากต่อการจ า ดังนั้น ในการฝึกปฏิบัติเพื่อการเรียนรู้สิ่งที่ควร
พัฒนาต่อเนื่องจากการจัดท าคู่มือฯ คือการน าคู่มือฯ ไปใช้งานจริงมีรายละเอียดขั้นตอนค่อนข้างมาก และต้อง
ปฏิบัติต่อเนื่องเชื่อมโยงกันทุกระบบ จึงควรท าเป็นมาตรฐานขั้นตอนการปฏิบัติหรือ SOP และมีภาพประกอบ
ทุกขั้นตอน เพื่อให้ใช้งานได้ง่ายและสามารถปฏิบัติได้อย่างครบถ้วนทุกขั้นตอน
๖.๓ การจัดการความรู้ให้เป็นระบบ ด าเนินการจัดท าเป็นเอกสารและสื่ออิเล็กทรอนิกส์ ดังนี้
๖.๓.๑ การใช้งานระบบต่าง ๆ ของห้องปรับบรรยากาศชนิดความกดดันต่ า โดยแยกออกเป็น
แต่ละระบบ ดังนี้
(๑) ระบบไฟฟ้า
(๒) ระบบเครื่องยนต์สูบอากาศ
(๓) ระบบสื่อสาร
(๔) ระบบออกซิเจน
(๕) ระบบเสียความกดดันเร็ว
(๖) ระบบงานอุปกรณ์ประกอบการฝึกบิน
๖.๓.๒ การปฏิบัติกรณีเกิดภาวะฉุกเฉินของระบบต่าง ๆ ของห้องปรับบรรยากาศ
๖.๔ การประมวลและกลั่นกรองความรู้
น าความรู้ที่รวบรวมได้จัดท าเป็น “คู่มือการปฏิบัติการบินทางห้องปรับบรรยากาศชนิดความกดดัน
ต่ า แบบบินที่ ๑ (Hypobaric Chamber Flight Type I)” ผู้เชี่ยวชาญแต่ละสาขาตรวจสอบและกลั่นกรอง ดังนี้
(๑) สายวิทยาการช่างอากาศ
ผู้ตรวจสอบ พ.อ.อ.ศุภกิจ เรืองวัด ต าแหน่ง ช่างโรงงานอาวุโส กรง.ชอ.และคณะ เป็นผู้ที่
มีประสบการณ์การในการซ่อมบ ารุงอุปกรณ์สายช่างอากาศและห้องปรับบรรยากาศมากกว่า ๑๕ ปี
(๒) สายวิทยาการเวชศาสตร์การบิน (สรีรวิทยาการบิน)
ผู้ตรวจสอบ
- น.ท.มาโนช มีบ ารุง ต าแหน่ง หน.เวชสารสนเทศ กอก.รพ.จันทรุเบกษา พอ., น.ท.ส าเร็จ
เสาเวียง ต าแหน่ง น.บริการโลหิต รพ.จันทรุเบกษา พอ. และ น.ท.มนัสชัย เกษรศรี ต าแหน่ง หน.บริการ กอก.
รพ.จันทรุเบกษา พอ. (เป็นพยาบาลเวชศาสตร์การบิน และ น.สรีรวิทยาการบิน ผู้ที่มีประสบการณ์ในการ
ปฏิบัติงานกับห้องปรับบรรยากาศที่ รพ.จันทรุเบกษา พอ. มากกว่า ๓๔ ปี ตั้งแต่ปี พ.ศ.๒๕๒๖ ถึงปัจจุบัน)
- น.ท.ฑิฆัมพร มีเกิดมูล หัวหน้าแผนกสรีรวิทยาการบิน กองนิรภัยเวชกรรมการบิน
สวบ.ทอ. และ น.ต.วิรัช บัวผัน รองหัวหน้าแผนกฯ ที่มีประสบการณ์บินทางห้องปรับบรรยากาศนานกว่า ๒๐
ปี (ประสบการณ์ เป็นพยาบาลเวชศาสตร์การบิน และ น.สรีรวิทยาการบิน ผู้เชี่ยวชาญจาก สวบ.ทอ. ในฐานะ
หัวหน้าสายวิทยาการ)