Page 17 - 11. รายงานกิจกรรม KM กลุ่ม AVM Chamber Flight_มี.ค.60_V3 (final)
P. 17

- ๑๖ -


                   ๘.๑.๒  ก่อนท ากิจกรรมจัดการความรู้ ในการท าการบินทางห้องปรับบรรยากาศต้องใช้เวลาใน

                 การเตรียมความพร้อม ประมาณ ๓๐ – ๔๐ นาที จึงสามารถเริ่มท าการบินได้ แต่หลังท ากิจกรรมใช้เวลาในการ
                 เตรียมความพร้อมประมาณ ๑๕ นาที

                   ๘.๑.๓  ในการด าเนินกิจกรรมการจัดการความรู้ กลุ่มได้รับความเห็นที่เป็นประโยชน์และมี
                 คุณค่า คือ ผู้ที่ปฏิบัติหน้าที่เป็นผู้ควบคุมการบินห้องปรับบรรยากาศแต่ละเที่ยวบิน ( Supervisor) สามารถใช้

                 ในการติดตามตรวจสอบการขั้นตอนการปฏิบัติของ จนท.  ระยะเวลาที่ใช้ในการบิน ความสูงที่ท าการบินแต่ละ

                 ช่วงเวลา และการสาธิตแต่ละเรื่อง ท าให้สามารถประเมินผลการปฏิบัติได้ทันที และสามารถเตรียมการแก้ไข
                 ปัญหาที่อาจเกิดขึ้นจากการบินทางห้องปรับบรรยากาศได้อย่างมีประสิทธิภาพ ส่งผลให้เกิดความปลอดภัยทั้ง

                 จนท.ผู้ปฏิบัติหน้าที่เป็นครูผู้ฝึกและศิษย์การบินที่เป็นผู้รับการฝึก ในขณะที่อยู่ในห้องปรับบรรยากาศ หาก

                 จนท.ขาดความช านาญและท าให้เกิดการบาดเจ็บต่อศิษย์การบิน จะส่งผลต่อการศึกษาของศิษย์การบิน ที่อาจ
                 ท าให้เสียเวลา เสียภารกิจ หรือเสียนักบินที่มีขีดความสามารถของกองทัพอากาศในอนาคต ซึ่งไม่สามารถ

                 ประเมินค่าได้

                        ๘.๒  ระดับ ทอ.
                   ๘.๒.๑  ศิษย์การบินประถมประสบความส าเร็จในการฝึกบินทางห้องปรับบรรยากาศ ชนิดความ

                 กดดันต่ า แบบบินที่ ๑ ตามวัตถุประสงค์ของหลักสูตรฯ
                   ๘.๒.๒  ศิษย์การบินได้รับประสบการณ์การเจ็บป่วยที่เกิดจากการเปลี่ยนของความกดดัน

                 บรรยากาศขณะท าการบินและแนวทางการป้องกันหรือแก้ไข สามารถน าไปใช้ในชีวิตการเป็นนักบิน ส่งผลให้

                 เกิดความปลอดภัยและสามารถปฏิบัติภารกิจของ ทอ.ได้อย่างมีประสิทธิภาพ เป็นการพัฒนาสมรรถนะก าลัง
                 พลตามวัตถุประสงค์ของยุทธศาสตร์ ทอ.เพื่อให้ ทอ. มีขีดความสามารถที่เพียงพอและเหมาะสมในการปฏิบัติ

                 ภารกิจที่ได้รับมอบหมายได้อย่างมีประสิทธิภาพ สอดคล้องประเด็นยุทธศาสตร์ที่ ๒ เสริมสร้างสมรรถนะและ
                 ความพร้อมในการป้องกันประเทศ กลยุทธ์ที่ ๒.๑๓ พัฒนาสมรรถนะและคุณภาพชีวิตของก าลังพล  กลยุทธ์

                 ย่อยข้อ  ๒.๑๓.๒ เสริมสร้างก าลังพลมืออาชีพด้วยการพัฒนาระบบการฝึกศึกษาและการวางแผนพัฒนาก าลัง

                 พลให้สอดคล้องกับแนวคิดสมรรถนะก าลังพลกองทัพอากาศ อีกทั้งสอดคล้องกับนโยบายของ ผบ.ทอ. ปี ๖๐ –
                 ๖๑ ด้านก าลังพล ที่ต้องการให้ก าลังพลมีขีดความสามารถในการปฏิบัติงานตามมาตรฐาน  รวมทั้งเจตนารมณ์

                 ของ ทอ. ตาม คือ กองทัพอากาศมุ่งมั่นพัฒนาทหารฉลาด (Smart  People)  อาวุธฉลาด  (Smart  Weapon

                 Systems) และกลยุทธ์ฉลาด (Smart Tactics)
                        ๘.๓  ระดับชาติ - ความมั่นคงของชาติเนื่องจากความพร้อมและความมีขีดสมรรถนะของก าลังพล ทอ.
   12   13   14   15   16   17   18