Page 11 - 11. รายงานกิจกรรม KM กลุ่ม AVM Chamber Flight_มี.ค.60_V3 (final)
P. 11

- ๑๐ -


                 ๖.  การด าเนินกิจกรรม

                        การด าเนินจัดการความรู้ ๗ ขั้นตอน ดังนี้
                        ๖.๑  การบ่งชี้ความรู้

                               มีการประชุมกลุ่ม ระดมสมองร่วมกันกับแพทย์เวชศาสตร์การบิน และ น./จนท.ผู้ปฏิบัติงานทาง
                 ห้องปรับบรรยากาศ รพ.จันทรุเบกษา พอ. เพื่อระบุความรู้ที่ต้องการและวิธีการได้มาของความรู้ สรุปประเด็น

                 ความรู้ที่ต้องการ คือ

                   (๑) การใช้งานระบบต่าง ๆ ของห้องปรับบรรยากาศชนิดความกดดันต่ า
                   (๒) แบบการบินทางห้องปรับบรรยากาศแบบบินที่ ๑         (Hypobaric Chamber Flight Type I)

                  ๖.๒        การสร้างและแสวงหาความรู้

                   ๖.๒.๑           Explicit knowledge ค้นหาเอกสารความรู้ตามหัวข้อการบ่งชี้ความรู้จาก จนท.ชอ.และ
                 สวบ.ทอ. เพื่อน าประยุกต์ใช้ ดังนี้

                          (๑) ระบบต่าง ๆ ของห้องปรับบรรยากาศชนิดความกดดันต่ า        ประกอบด้วย

                         - ระบบไฟฟ้า                         - ระบบเครื่องยนต์สูบอากาศ
                         - ระบบสื่อสาร                       -       ระบบออกซิเจน

                         - ระบบเสียความกดดันเร็ว               - ระบบงานอุปกรณ์ประกอบการฝึกบิน
                          (๒) แบบการบินทางห้องปรับบรรยากาศ แบบบินที่ ๑ ส าหรับศาญืการบินประถม

                   ๖.๒.๒           Tacit knowledge  ค้นหาโดยวิธีให้มีการฝึกอบรมภายในหน่วยโดย น.สรีรวิทยาการบิน

                 รพ.จันทรุเบกษา พอ.ที่มีความรู้ความช านาญในการใช้งานห้องปรับบรรยากาศของ รพ.จันทรุเบกษา พอ.เป็น
                 วิทยากรฝึกอบรมภายในหน่วยด้วยวิธีการ “พี่สอนน้อง” และการแลกเปลี่ยนประสบการณ์กับ จนท. ของ สวบ.

                 พอ. และ ชอ. ซึ่งเป็นหัวหน้าสายวิทยาการ
                                           ประเด็นความรู้ที่ได้รับ

                  (๑) เนื่องจากข้อมูล              ระบบต่าง ๆ ของห้องปรับบรรยากาศที่รวบรวมได้และจัดท าเป็นวิธี

                 ปฏิบัติแต่ละระบบแล้ว แต่การปฏิบัติงานจริงขณะท าการบินทางห้องปรับบรรยากาศ จะต้องปฏิบัติอย่าง
                 ต่อเนื่อง และถูกใช้งานพร้อมกันทุกระบบ จึงต้องศึกษาให้เข้าใจแบบการบินทางห้องปรับบรรยากาศ แบบบิน

                 ที่ ๑ ในแต่ละขั้นตอน เพื่อจะสามารถปฏิบัติการใช้อุปกรณ์เครื่องมือขณะบินฯ ได้เหมาะสม สอดคล้องกับการ

                 ฝึกหรือสาธิตปฏิบัติภายในห้องปรับบรรยากาศ เช่น การปรับสายตาให้ชินกับความมืด ต้องปิดไฟแสงสว่าง
                 และเปิดไฟสีแสงแดง การสาธิตการสูญเสียความสามารถในการปรับสายตาให้ชินกับความมืด ต้องเปิดไฟแสง

                 สว่างเป็นจังหวะ เป็นต้น การปฏิบัติการบินทางห้องปรับบรรยากาศต้องใช้ทักษะ การเรียนรู้ทฤษฎีไม่เพียงพอ

                 ต้องมีการฝึกปฏิบัติซ้ า ๆ เพื่อให้เกิดความช านาญ
   6   7   8   9   10   11   12   13   14   15   16