Page 153 - เสด็จสู่แดนสรวง
P. 153

หลักฐํานที่กล่ําวถึงรํายละเอียดเก่ียวกับกํารโกนผมทั้งแผ่นดินครั้งกรุงเก่ําไม่เหลือถึง ปัจจุบัน อย่ํางไรก็ตําม รําชสํานักในสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้นก็คงจะไม่ห่ํางไกลกว่ําคร้ังกรุงเก่ํา มํากนกั ดงั นนั้ จงึ นํา่ จะเชอื่ ไดว้ ํา่ เมอื่ พระมหํากษตั รยิ ค์ รงั้ กรงุ เกํา่ เสดจ็ สวรรคตกน็ ํา่ จะมกี ํารประกําศ ให้โกนผมทั้งแผ่นดิน
หลักฐํานกํารโกนผมทั้งแผ่นดินในสมัยรัตนโกสินทร์มีปรํากฏในศุภอักษรของอัครมหํา เสนําบดสี ง่ ไปยงั เจํา้ ประเทศรําชในเขตลํา้ นนําและพระเจํา้ กรงุ กมั พชู ํา เรอื่ งพระเจํา้ อยหู่ วั รชั กําลท่ี ๑ เสด็จสวรรคตได้ระบุมีกํารประกําศโกนผมเดือนละครั้งจนกว่ําถวํายพระเพลิงแล้ว ยกเว้นแต่ เมอื งเถนิ เมอื งกํา แพงเพชร เมอื งตําก เมอื งเชยี งเงนิ เมอื งเชยี งทอง เมอื งกําญจนบรุ ี เมอื งศรสี วสั ดิ์ เมอื งไทรโยค เมอื งทองผําภมู ิ ไมใ่ หเ้ จํา้ เมอื งกรมกํารเมอื งรวมถงึ ชําวบํา้ นโกนผม เพรําะเปน็ เมอื งดํา่ น ที่ติดต่อไปยังพม่ํา นอกจํากนี้ ยังรวมถึงด่ํานเมืองอุทัย (จดหมายเหตุรัชกาลที่ ๒ ๒๕๑๓: ๑๔-๑๕, ๕๖) หํากแต่จํากหมํายฉบับดังกล่ําวทําให้สํามํารถคิดเพิ่มเติมได้ดังต่อไปนี้
๑. ในศุภอักษรไม่ได้กล่ําวถึงกํารให้ข้ําแผ่นดินนุ่งสีขําว ดังนั้น ก็เป็นกํารสะท้อนให้เห็นว่ํา รําชสํานักยุคนั้นเน้นกํารโกนผมมํากกว่ํานุ่งขําว ซึ่งอําจจะเป็นไปได้ว่ํากํารนุ่งขําวนั้นจะไว้เฉพําะ มูลนํายและผู้ใกล้ชิด
๒. กํารโกนผมท้ังแผ่นดิน ในเขตพระนครและในจวนเจ้ําเมืองตํามหัวเมืองคงจะปฏิบัติกัน อยํา่ งเครง่ ครดั แมว้ ํา่ ในหมํายจะระบวุ ํา่ “ถา้ ผใู้ ดมไิ ดโ้ กนผมจบั ไดจ้ ะเอาตวั เปน็ โทษจงหนกั ” แตใ่ นทําง ปฏิบัติจะเคร่งครัดเรื่องโกนผมมํากน้อยเพียงใดไม่อําจที่จะทรําบได้
๓. เรอื่ งกํารยกเวน้ หวั เมอื งทแี่ ดนตดิ กบั กรงุ องั วะไมต่ อ้ งโกนผมนนั้ คงจะสบื เนอื่ งจํากปญั หํา สงครําม เพรําะในท้ํายเอกสํารท้ัง ๒ ช้ิน ได้มีข้อควํามย้ําให้เจ้ํากรมเมืองที่ไม่ต้องโกนผมนั้น ให้ดูแล ไม่ให้พม่ําเข้ํามําจับผู้คนออกไป อีกทั้งต้ังแต่สิ้นรัชกําลสมเด็จพระนเรศวรมหํารําช กรุงศรีอยุธยํา ไม่มีภําพของกรุงอังวะในแง่ลบ ซึ่งจะเห็นจํากสมเด็จพระเจ้ําบรมโกศทรงรับเจ้ําเมืองเมําะตะมะ ที่หนีกบฏมอญมําขอพึ่งพระบรมโพธิสมภําร จนในที่สุดพระเจ้ํากรุงอังวะได้แต่งทูตเชิญเคร่ืองรําช บรรณํากํารมําถวําย แต่ควํามรู้สึกในเชิงลบท่ีมีต่อพม่ําเพิ่งจะมําเกิดขึ้นหลังสงครําม ปี พ.ศ. ๒๓๑๐ (สุเนตร ชุตินธรํานนท์ ๒๕๓๗: ๙-๓๐)
ตํามควํามเห็นของผู้เขียนคิดว่ํา เหตุที่ยกเว้นกํารโกนผมของไพร่ฟ้ําในหัวเมืองที่แดน ติดกับกรุงอังวะ เพิ่งจะเป็นขนบที่เริ่มต้นในสมัยกรุงรัตนโกสินทร์ และน่ําที่จะเป็นไปได้ว่ําเมื่อคร้ัง กรงุ ศรอี ยธุ ยําเกดิ กํารผลดั แผน่ ดนิ ถํา้ กรงุ ศรอี ยธุ ยํามพี ระรําชไมตรกี บั กรงุ องั วะกน็ ํา่ ทจี่ ะมกี ํารสง่ ขํา่ ว เรอื่ งกํารผลดั แผน่ ดนิ เหมอื นอยํา่ งทคี่ รงั้ กรงุ รตั นโกสนิ ทรย์ งั มที ํางพระรําชไมตรกี บั กรงุ เว้ เมอื่ ครง้ั ท่ี พระเจ้ําอยู่หัวรัชกําลท่ี ๑ เสด็จสวรรคตก็มีพระรําชสําส์นถึงกรุงเว้ทรําบ หรือเมื่อครั้งพระเจ้ํายําลอง สิ้นพระชนม์ก็มีสํารเข้ํามํายังกรุงเทพ (เจ้ําพระยําทิพํากรวงศ์ ๒๕๔๘: ๘๕) แต่เม่ือกรุงรัตนโกสินทร์ เกดิ กรณพี พิ ําทกบั กรงุ เว้ พระเจํา้ มนิ มํางสน้ิ พระชนมไ์ มป่ รํากฏวํา่ มสี ํารจํากกรงุ เวเ้ ขํา้ มํา (เจํา้ พระยํา ทิพํากรวงศ์ ๒๕๓๘: ๙๔) และเมื่อพระเจ้ําอยู่หัวรัชกําลท่ี ๓ เสด็จสวรรคต ก็ไม่มีพระรําชสําส์นแจ้ง ข่ําวไปท่ีกรุงเว้
๖
ศิลปะ ประเพณี และความเชื่อในงานพระบรมศพและพระเมรุมาศ ๑5๑
เสด็จสู่แดนสรวง


































































































   151   152   153   154   155