Page 172 - เสด็จสู่แดนสรวง
P. 172
ดังเห็นได้จํากในขณะที่พระบําทสมเด็จพระมงกุฎเกล้ําเจ้ําอยู่หัว ถึงแม้จะเป็นพระมหํากษัตริย์ แต่ก็ทรงตระหนักในพระสถํานะว่ําทรงเป็นพระรําชโอรส ดังนั้น จึงทรงฉลองพระองค์สีขําวทุกคร้ัง ทเ่ี สดจ็ บํา เพญ็ พระรําชกศุ ลถวํายพระบรมศพสมเดจ็ พระศรพี ชั รนิ ทรําบรมรําชนิ นี ําถพระพนั ปหี ลวง ดงั หลกั ฐํานวํา่ “นบั ตง้ั แตว่ นั นน้ั กม็ กี ารทา บญุ ทกุ ๆ ๗ วนั มที า บญุ ๕๐ วนั และ ๑๐๐ วนั ตามธรรมดา ทูลหม่อมลุงเสด็จทุกครั้ง และแม้ตามหมายกรมวังจะบ่งว่า ต้องแต่งครึ่งยศหรือเต็มยศ ทูลหม่อมลุง ทรงผ้าขาวในฐานะเป็นลูกทุกๆ คราว” (พระองค์เจ้ําจุลจักรพงษ์ ๒๕๕๒: ๑๔๐) อย่ํางไรก็ดี ในครําว เกบ็ พระอฐั สิ มเดจ็ พระอนชุ ําธริ ําช เจํา้ ฟํา้ จกั รพงษภ์ วู นําถฯ รชั กําลท่ี ๖ ทรงฉลองพระองคด์ ํา ลว้ น ทง้ั นี้ เพรําะทรงเปน็ พระเชษฐํารว่ มพระบรมชนกชนนเี ดยี วกนั ดงั เหน็ ไดจ้ ํากในหนงั สอื เกดิ วงั ปารสุ ก์ ได้ บันทึกไว้ว่ํา “ในวันรุ่งขึ้นเมื่อเก็บพระอัฐิ แทนที่จะทรงเครื่องทหาร ทูลหม่อมลุงทรงแสดงพระองค์ วา่ เปน็ ญาตสิ นทิ โดยทรงดา ลว้ น เชน่ เดยี วกบั ทพ่ี ระองคท์ า่ นไดท้ รงขาวลว้ นเมอ่ื วนั เกบ็ พระบรมอฐั ยิ า่ ” (พระองค์เจ้ําจุลจักรพงษ์ ๒๕๕๒: ๑๕๑) ดังนั้น กํารแต่งพระองค์ของพระมหํากษัตริย์จึงขึ้นอยู่กับ พระรําชประสงคส์ ว่ นพระองค์ โดยทรงคํา นงึ ถงึ สํายสมั พนั ธร์ ะหวํา่ งพระองคก์ บั พระบรมรําชบพุ กํารี และลําดับศักดิ์ของเครือญําติ
หน้ําที่ในกํารควบคุมเร่ืองกํารแต่งชุดในงํานพระบรมศพหรือพระศพในหมู่เจ้ํานําย เชอื้ พระวงศท์ จ่ี ะเสดจ็ ไปในงํานพระเมรนุ บั ตงั้ แตร่ ชั กําลที่ ๖ นนั้ จะถกู ควบคมุ โดยเสนําบดกี ระทรวงวงั อยํา่ งเครง่ ครดั เพรําะถอื เปน็ กํารเคํารพและใหเ้ กยี รตผิ วู้ ํายชนม์ ดงั ทพี่ ระเจํา้ วรวงศเ์ ธอ พระองคเ์ จํา้ จุลจักรพงษ์ทรงบันทึกไว้โดยละเอียดในงํานพระศพพระบิดําควํามว่ํา “ข้าพเจ้าอดเล่าไม่ได้ถึง เจา้ พระยาธรรมาฯ ผซู้ งึ่ เปน็ ผคู้ วบคมุ พระราชวงศอ์ ยา่ งสมหนา้ ทขี่ องทา่ น ผเู้ ปน็ เสนาบดกี ระทรวงวงั ใครทที่ า่ นควรจะเคารพอยา่ งสงู ทา่ นกท็ า ใครทตี่ อ้ งเอด็ เอาบา้ ง ทา่ นกเ็ อด็ เมอื่ วนั พระเมรพุ อ่ มหี มอ่ มเจา้ หรอื พระองคเ์ จา้ วงั หนา้ แกๆ่ สองสามองค์ เสดจ็ มาโดยแตง่ ดา เจา้ คณุ ธรรมาฯ เขา้ ไปหาและวา่ “นอี่ ะไร ทาไมถึงทรงแต่งดามาวันน้ี” พระองค์หนึ่งตอบว่า “กระผมเป็นพี่” เจ้าคุณธรรมาฯ “เป็นพี่เป็นน้อง ทา่ นไดอ้ ยา่ งไร ทา่ นเปน็ เจา้ ฟา้ เจา้ ฝน” สองสามองคน์ นั้ ตอ้ งเสดจ็ กลบั ไปเปลย่ี นเครอ่ื งแตง่ พระองค”์ (พระองค์เจ้ําจุลจักรพงษ์ ๒๕๕๒: ๑๕๑)
นอกจํากน้ีแล้ว นับตั้งแต่สมัยรัชกําลที่ ๕ เม่ือได้มีกําหนดเครื่องแบบข้ํารําชกํารขึ้น ทําให้ เครอื่ งแบบถอื เปน็ ชดุ สภุ ําพแบบหนงึ่ ดงั นน้ั จงึ ไดห้ ยบิ ยมื ธรรมเนยี มจํากยโุ รปมําใชด้ ว้ ยกํารนํา ผํา้ ดํา พันแขนเป็นปลอก ซึ่งในเอกสํารเก่ําจะเรียกว่ํา “พันผ้ําดําทุกข์” หรือ “พันแขนดํา” อย่ํางไรก็ดี ถึงจะรับธรรมเนียมมําจํากตะวันตก แต่ก็มีกํารเลือกใช้เพียงบํางส่วน เพรําะปกติกํารไว้ทุกข์ของ ชําวยุโรปแบบครบเครื่องจะต้องมีกํารใช้ผ้ําพันคอสีดําติดปลอกแขนดําด้วย ถ้ําเป็นไว้ “ทุกข์รอง” จะผูกผ้ําพันคอหรือผูกโบดํา ไม่ติดปลอกแขนเท่ํานั้น ดังน้ัน ในงํานพระบรมศพของรัชกําลที่ ๕ จะพบว่ํา “สมเด็จพระเจ้าอยู่หัว [รัชกาลที่ ๖] ทรงเคร่ืองเต็มยศทหารมหาดเล็ก ทรงพันผ้าดาทุกข์ เครื่องราชอิสริยาภรณ์ ทรงพระราชดาเนินตามกระบวนพระบรมศพต่อท้ายเครื่องสูง มีนายทหาร เชญิ ธงบรมราชธวชั ตามเสดจ็ ตอ่ มาพระบรมวงศานวุ งศท์ รงเครอื่ งเตม็ ยศบา้ ง ทรงเครอื่ งผา้ ขาวบา้ ง ประดับเคร่ืองราชอิสริยาภรณ์ตามพระบรมศพ ทหารมหาดเล็กเดินแซงข้างละ ๒ แถว ต่อพระบรม วงศานุวงศ์ ในระหว่างกลาง พนักงานกรมม้า จูงม้าพระที่นั่ง ๔ ม้า แล้วถึงข้าทูลละอองธุลีพระบาท ฝ่ายทหารฝ่ายพลเรือน แต่งเต็มยศพันแขนดา...” (ยิ้ม ปัณฑยํางกูร ๒๕๓๕: ๖๒)
เสด็จสู่แดนสรวง
๑๗๐ ศิลปะ ประเพณี และความเชื่อในงานพระบรมศพและพระเมรุมาศ