Page 196 - เสด็จสู่แดนสรวง
P. 196
“โศกอันเกษม” ว่าด้วยบรรยากาศในฉากงานพระศพในวรรณคดีนิทานไทย
ฉํากงํานพระศพในวรรณคดีนิทํานไทย นอกจํากจะแสดงให้เห็นถึงร่องรอยและพลวัต ของควํามคิดควํามเชื่อในสังคมไทยแล้ว เม่ือพิจํารณําถึงน้ําเสียงและบรรยํากําศในฉํากงํานพระศพ จะเห็นได้ว่ํามีท้ัง “ควํามโศก” และ “ควํามสนุก” มีทั้งอํารมณ์ของควํามสูญเสีย และอํารมณ์ของ กํารเฉลิมฉลองไปพร้อมกัน ดังจะได้อธิบํายดังน้ี
๑. วิธีคิดแบบสามัญชน “โศกเพราะสูญเสีย”
แม้ว่ําตัวละครพระรําชํา เจ้ําหญิง เจ้ําชําย ในวรรณคดีจะเต็มไปด้วยคติเรื่องพระโพธิสัตว์ จุติมํา หรือพระเป็นเจ้ําแบ่งภําคมําก็ตําม หํากแต่เมื่อมีกํารตํายเกิดข้ึน ย่อมนํามําซ่ึงควํามโศกเศร้ํา ของผู้ใกล้ชิด แม้จะมีควํามเชื่อว่ําจุดหมํายในกํารเดินทํางหลังควํามตํายของเขําเหล่ํานั้นจะไปยัง ภพภูมิที่ดีและสูงส่งก็ตําม แต่มโนสํานึกใน “ควํามเป็นสํามัญชน” ที่ยังเต็มเปี่ยมไปด้วยรักโลภ โกรธหลง จึงปรํากฏอยู่ในควํามคิดของชนชั้นสูงด้วยเช่นกัน ควํามโทมนัสปริเทวนํากํารเหล่ํานั้น ได้สะท้อนผ่ํานฉํากงํานพระศพในวรรณคดีนิทํานไทยด้วย ดังน้ี
เสด็จสู่แดนสรวง
พระคุณอยู่เกล้า ด่ังร่มโพแก้ว ล้มแล้วบ่ฟื้น ทรงกันแสงไห้
เรวัตภูบาล ข้าเจ้านักหนา มิทันแทนคุณ ล้มแล้วลับไป ท้าวคือโพทอง ไม่คืนกลับมา ท้าวคือเมรุมาศ ไรมากมี
เข้าไปกราบกราน ชุบเลี้ยงลูกมา พระมาส้ินบุญ จะพึ่งผู้ใด ท่ีอาศัยผอง ฝูงราษฎร์ประชา เห็นน่าอนาถ ครั้นรู้สมประดี
ศพพระบิดา ได้ครองภพไตร ลูกจะเห็นใคร คุ้มเกล้าเกศา สัตว์ทั่วโลกา เศร้าโศกหมองศรี ล้มกับธรณี กล่าวเกลี้ยงวาจา
(พระสี่เสาร์กลอนสวด ๒๕๔๗: ๘๒-๘๓) หรือในเร่ือง พระอภัยมณี ก็ปรํากฏเช่นกัน ตัวอย่ํางเช่น
โอ้สิ้นบุญทูลกระหม่อมจอมกษัตริย์ จะคลาศเคลื่อนเดือนปีทุกวี่วัน
พระกล่อมเล้ียงเลี้ยงลูกจะปลูกผัง เวรวิบัติพลัดพรากจากนคร หมายว่าพระจะสาราญผ่านสมบัติ ครั้งน้ีพระสวรรคครรไลย พระครวญคร่าราพรรณพูลเทวษ ทั้งนงลักษณ์อัคเรศเกษรา
เหมือนใครตัดเกศาลูกอาสัญ จนล่วงลับกัปกัลป์พุทธันดร ถึงผิดพล้ังสารพัดได้ตรัสสอน ให้จาจรจาพรากจาจากไป แม้ข้องขัดคงจะแจ้งแถลงไข ไม่เห็นใจเจ้าประคุณกรุณา ชลเนตรพรั่งพรายท้ังซ้ายขวา พลอยโศกากาสรดระทดใจ
(พระอภัยมณี ๒๕๔๔: ๓๒๓-๓๒๔)
๑๙4 ศิลปะ ประเพณี และความเช่ือในงานพระบรมศพและพระเมรุมาศ