Page 238 - เสด็จสู่แดนสรวง
P. 238

ภําพที่ ๔ พระเมรุพระศพสมเด็จพระนํางเจ้ําสุนันทํากุมํารีรัตน์ พระบรมรําชเทวี (ท่ีมํา: กรมศิลปํากร ๒๕๕๙: ๕๗)
พระเมรทุ ง้ั สมี่ รี ปู แบบและแผนผงั โดยรวมคลํา้ ยกนั โดยสง่ิ โดดเดน่ ทมี่ รี ว่ มกนั ไดแ้ ก่ พระเมรุ อยู่ในผังส่ีเหล่ียมเพ่ิมมุม (ย่อมุม) มีมุขต่อยื่นออกมําทั้งสี่ด้ํานเรียกว่ําจัตุรมุข ส่วนยอดเป็นทรง ปรําสําท หรือเป็นเรือนซ้อนช้ันลดหลั่นกันขึ้นไปโดยแต่ละช้ันมีเชิงกลอนสูง เฉพําะของพระเมรุ พระบรมศพสมเดจ็ พระเทพศริ นิ ทรําบรมรําชนิ ที ท่ี ํา ชน้ั เชงิ กลอนเตย้ี จนแลดเู ปน็ ชนั้ หลงั คําลําดแบบ ยอดมณฑปหรือยอดบุษบก ยอดสุดเป็นปรํางค์ แวดล้อมด้วยเครื่องประกอบพระเมรุ และมีอําคําร ทรงปรําสําทยอดปรํางค์ขนําดเล็กท่ีอยู่โดยรอบพระเมรุใหญ่ ซึ่งคงตรงกับท่ีเอกสํารโบรําณเรียกว่ํา เมรทุ ศิ เมรแุ ทรก หรอื เมรทุ ศิ เมรรุ ําย มี “สํามสรํา้ ง”๑ หรอื ระเบยี งเชอื่ มตอ่ เมรทุ ศิ เมรแุ ทรก ทํา ใหเ้ กดิ กํารก้ันพื้นที่ภํายในกับภํายนอกออกจํากกัน อนึ่ง ยกเว้นเฉพําะพระเมรุพระศพสมเด็จพระนํางเจ้ํา สนุ นั ทํากมุ ํารรี ตั น์ พระบรมรําชเทวี ทที่ ํา เมรทุ ศิ เมรแุ ทรกไวภ้ ํายในสํามสรํา้ ง มไิ ดเ้ ชอื่ มตอ่ กบั สํา สรํา้ ง เช่นเดียวกันกับพระเมรุอื่นๆ
ประเดน็ รปู แบบของพระเมรยุ อดปรํางคต์ ลอดจนแผนผงั ทแ่ี วดลอ้ มดว้ ยเมรทุ ศิ เมรรุ ําย หรอื เมรทุ ศิ เมรแุ ทรกและสํา สรํา้ งจะเปน็ เนอื้ หําหลกั ของบทควํามน้ี กลํา่ วคอื แมไ้ มม่ ภี ําพถํา่ ยเกํา่ พระเมรุ ยอดปรํางค์ที่สร้ํางข้ึนก่อนรัชกําลพระบําทสมเด็จพระจอมเกล้ําเจ้ําอยู่หัว แต่เชื่อได้ว่ําธรรมเนียม กํารสรํา้ งเชน่ นส้ี ํามํารถยอ้ นกลบั ไปไดถ้ งึ ตน้ กรงุ รตั นโกสนิ ทรแ์ ละปลํายกรงุ ศรอี ยธุ ยํา โดยมปี ระจกั ษ์ หลักฐํานเป็นลํายลักษณ์อักษรที่เอ่ยถึงรูปลักษณ์ของพระเมรุบูรพกษัตริย์ ทําให้จินตนํากํารได้ว่ํา พระเมรุพระบรมศพรัชกําลท่ี ๔ มีรูปลักษณ์ที่ส่งผ่ํานมําจํากพระเมรุรุ่นก่อนหน้ําอย่ํางแน่นอน
๑ สํามํารถเขียนได้หลํายแบบ เช่น สํามซ่ําง, สํามสร้ําง, สํามส้ําง, สําสร้ําง, สําซ่ําง เป็นต้น ในแต่ละบทควํามของ หนังสือเล่มนี้ เขียนไม่เหมือนกันบ้ํางข้ึนอยู่กับเอกสํารต้นทํางที่ผู้เขียนใช้อ้ํางอิง
เสด็จสู่แดนสรวง
๒3๖ ศิลปะ ประเพณี และความเชื่อในงานพระบรมศพและพระเมรุมาศ


































































































   236   237   238   239   240