Page 241 - เสด็จสู่แดนสรวง
P. 241

ขนําดน้อยขื่อ ๕ วํา ๒ ศอก (กรมศิลปํากร ๒๕๓๕ข: ๑๑๑) และพระเมรุของสมเด็จพระเจ้ําอยู่หัว บรมโกศ “...ทาพระเมรุมาศขนาดใหญ่ ข่ือ ๗ วา ๒ ศอก...” (กรมศิลปํากร ๒๕๓๕ข: ๑๒๘)
ส่วนพระเมรุที่พระรําชพงศําวดํารระบุควํามสูงใหญ่และรํายรอบด้วยเมรุทิศเมรุรําย หรือ เมรุทิศเมรุแทรก มีตัวอย่ํางเช่น พระเมรุพระบรมศพสมเด็จพระนเรศวร สมเด็จพระเจ้ําปรําสําททอง สมเด็จพระนํารํายณ์ สมเด็จพระเพทรําชํา
พระเมรพุ ระบรมศพสมเดจ็ พระนเรศวร มขี อ้ ควํามดงั นี้ “...แตง่ พระเมรมุ าศสงู เสน้ สบิ เจด็ วา ประดบั ดว้ ยเมรทุ ศิ เมรรุ าย ราชวตั ิ ฉตั รทอง ฉตั รนาก ฉตั รเบญจรงค.์ ..” (กรมศลิ ปํากร ๒๕๓๕ก: ๑๘๐) พระเมรพุ ระบรมศพสมเดจ็ พระเจํา้ ปรําสําททอง มขี อ้ ควํามดงั นี้ “...พระสเุ มรมุ าศสงู ๒ เสน้ ๑๑ วา ศอกคืบ และพระเมรุทิศเมรุราย ประดับด้วยฉัตรทอง ฉัตรนาก ฉัตรเงิน ฉัตรเบญจรงค์
ธงเทียวบรรณฎาร...” (กรมศิลปํากร ๒๕๓๕ข: ๑๗)
พระเมรุพระบรมศพสมเด็จพระนํารํายณ์ มีข้อควํามดังน้ี “...พระเมรุมาศซ่ึงจะถวาย
พระเพลิงพระบรมศพสมเด็จพระนารายณ์เป็นเจ้า โดยขนาดใหญ่ขื่อ ๗ วา ๒ ศอก โดยสูง ๒ เส้น ๑๑ วาศอกคืบ มียอด ๕ ยอด ภายในพระเมรุทองน้ันก็ประกอบด้วยเคร่ืองสรรพโสภณพิจิตรต่างๆ สรรพด้วยพระเมรุทิศเมรุแทรก และสามสร้างเสร็จ...” (กรมศิลปํากร ๒๕๓๕ข: ๖๖-๖๗)
พระเมรุพระบรมศพสมเด็จพระเพทรําชํา มีข้อควํามดังน้ี “...แล้วทรงพระกรุณาให้ช่าง พนักงานจับทาการพระเมรุมาศ ขนาดใหญ่ขื่อ ๗ วา ๒ ศอก กอปรด้วยเมรุทิศเมรุแทรก และ สามสร้างพร้อม...” (กรมศิลปํากร ๒๕๓๕ข: ๘๘)
สําหรับพระเมรุพระบรมศพสมเด็จพระเพทรําชําน้ียังมีหลักฐํานเป็นภําพเขียนด้วย (Terwiel 2016: 79-84) มลี กั ษณะเปน็ พระเมรยุ อดปรํางค์ ๕ ยอด ลอ้ มรอบดว้ ยระเบยี งคดหรอื สําม สรํา้ ง กงึ่ กลํางและมมุ ของสํามสรํา้ งมอี ําคํารทรงปรําสําทยอดปรํางคซ์ ง่ึ คงเปน็ เมรทุ ศิ เมรรุ ํายหรอื เมรุ ทิศเมรุแทรก ทั้งนี้เมรุที่กึ่งกลํางทําหน้ําที่เป็นซุ้มประตูด้วย
แม้ว่ําพระรําชพงศําวดํารไม่ได้ระบุถึงลักษณะของพระเมรุพระบรมศพของกษัตริย์ แต่ละองค์ว่ํามีรูปลักษณ์โดยละเอียดเป็นเช่นไร แต่ข้อมูลจํากคาให้การขุนหลวงหาวัดท่ีกล่ําวถึง พระเมรุพระบรมศพพระเจ้ําอยู่หัวบรมโกศ และข้อมูลจํากหนังสือพรรณนําภูมิสถํานกรุงศรีอยุธยํา ท่ีกล่ําวถึงพระเมรุ ๓ ระดับชั้น คือ เอก โท ตรี ทําให้เชื่อได้ว่ําพระเมรุยอดปรํางค์เป็นสิ่งที่แพร่หลําย แล้วแต่ครั้งกรุงศรีอยุธยํา ทั้งยังนิยมทําสํามสร้ําง เมรุทิศเมรุรําย หรือเมรุทิศเมรุแทรกโดยรอบ ซง่ึ เขํา้ กนั ไดด้ กี บั ภําพวําดพระเมรพุ ระบรมศพสมเดจ็ พระเพทรําชํา นํา่ จะสะทอ้ นใหเ้ หน็ วํา่ ประเพณี กํารสร้ํางพระเมรุพระบรมศพของแต่ละพระองค์ไม่ได้มีรูปแบบท่ีแตกต่ํางกันมําก สําหรับพระเมรุ พระบรมศพพระเจ้ําอยู่หัวบรมโกศท่ีกล่ําวไว้ในคาให้การขุนหลวงหาวัดมีข้อควํามว่ํา
“...ให้ต้ังพระเมรุทองที่ท้องสนามหลวง แล้วต้ังพระเมรุใหญ่สูง แล้วปิดทอง ประดับกระจกยกเป็นลวดลายต่างๆ แล้วมีเพดานรองสามช้ันเป็นหล่ันๆ ลงมาตามที่ จงึ่ มพี ระเมรใุ หญ่ สงู สดุ ยอดพระสะเดานน้ั ๔๕ วา ฝานน้ั แผงหมุ้ ผา้ ปดิ กระดาษปพู น้ื แดง เขียนเป็นช้ันนาค ชั้นครุฑ ชั้นอสูร และชั้นเทวดา และชั้นอินทร์ช้ันพรหมตาม
๒๑
ศิลปะ ประเพณี และความเช่ือในงานพระบรมศพและพระเมรุมาศ ๒3๙
เสด็จสู่แดนสรวง


































































































   239   240   241   242   243