Page 306 - เสด็จสู่แดนสรวง
P. 306
เจ้ําอยู่หัวมีพระรําชวิจํารณ์ควํามว่ํา “รถ ๗ รถ ก็คือรถที่ใช้อยู่เดี๋ยวนี้ ต้ังพระรําชหฤไทยจะจัดทําขึ้น ไว้สําหรับแผ่นดิน แต่เปนกํารจําเปนอยู่เองที่จะต้องให้ใช้ก่อน สําหรับทอดพระเนตร”
อีกท้ังกํารสถําปนําพระที่นั่งดุสิตมหําปรําสําท ซึ่งมีลักษณะทํางสถําปัตยกรรมสัมพันธ์ กับพระที่นั่งสุริยําสน์อมรินทร์สมัยอยุธยําโดยสถําปนําขึ้นตรงตําแหน่งท่ีเคยเป็นต้ังของพระที่น่ัง อมรินทรําภิเษกมหําปรําสําทที่ต้องอสุนีบําตและเกิดเพลิงไหม้ไป ก็อําจมีสําเหตุจํากพระรําชพิธี บรมรําชําภเิ ษกตอ้ งตํามโบรําณรําชประเพณใี นพระทน่ี ง่ั อมรนิ ทรําภเิ ษกมหําปรําสําทไดด้ ํา เนนิ กําร ลุล่วงแล้วและเม่ือต้องสูญเสียพระที่นัั่งองค์ดังกล่ําวไป ในขณะที่บ้ํานเมืองยังไม่พร้อมที่จะมี กํารก่อสร้ํางพระที่นั่งขนําดใหญ่ในครําวเดียวกันหลํายองค์ ด้วยขําดแคลนทรัพยํากรด้ํานต่ํางๆ จึงอําจเป็นเหตุให้พระองค์เลือกสร้ํางพระที่นั่งดุสิตมหําปรําสําทขึ้นแทน เพ่ือทําหน้ําท่ีประดิษฐําน พระบรมศพเช่นเดียวกับพระท่ีนั่งสุริยําสน์อมรินทร์เม่ือครั้งกรุงเก่ํา รวมไปถึงยังมีกํารจัดสร้ําง พระโกศทองใหญ่ และโปรดให้นํามําตั้งถวํายทอดพระเนตรในพระท่ีน่ังไพศําลทักษิณ ทําให้ฝ่ํายใน เกรงว่ําเป็นลําง แต่พระองค์ไม่ได้ถือสําอะไร ดังมีรับสั่งต่อเจ้ําคุณเสือควํามว่ํา “...กูไม่ถือ ไม่เอามา ตั้งดู ทา ไมกจู ะไดเ้ หน็ ” เหตกุ ํารณต์ ํา่ งๆ เหลํา่ นี้ ลว้ นสะทอ้ นใหเ้ หน็ ถงึ ทม่ี ําทไ่ี ปในพระรําชดํา รติ อ่ กําร จดั งํานพระเมรุครั้งนี้เป็นอย่ํางดี
นอกจํากนี้ยังโปรดเกล้ําฯ ให้อัญเชิญพระบรมสํารีริกธําตุข้ึนประดิษฐํานในเรือนธําตุ กลํางอําคํารเพื่อกํารสมโภช แล้วจึงอัญเชิญพระบรมอัฐิขึ้นประดิษฐํานเพื่อประกอบพระรําชพิธี ถวํายเพลิงพระบรมอัฐิ จะเห็นว่ํากํารสถําปัตยกรรมเฉพําะกิจองค์น้ี มิได้ถูกเฉพําะเจําะจงให้มี หน้ําที่รองรับพระรําชพิธีถวํายพระเพลิงพระบรมอัฐิแต่เพียงอย่ํางเดียว แต่ยังถือว่ําเป็นอําคําร ฐํานํานุศักดิ์สูงสุดสําหรับประดิษฐํานพระบรมสํารีริกธําตุ รวมถึงกํารปฏิบัติพระรําชพิธีอื่นๆ ที่ เกยี่ วเนอ่ื ง สะทอ้ นใหเ้ หน็ ทศั นะทม่ี ตี อ่ อําคํารเฉพําะกจิ หลงั นว้ี ํา่ เปน็ อําคํารฐํานํานศุ กั ดสิ์ งู ทใี่ ชป้ ระกอบ พิธีกรรมที่เป็นสิริมงคล ซึ่งตรงกันข้ํามกับคําอธิบํายในปัจจุบันที่กล่ําวว่ํา พระเมรุเป็นอําคําร ทไ่ี มเ่ ปน็ มงคล รวมไปถงึ งํานพระเมรเุ ปน็ เรอ่ื งทโ่ี ศกเศรํา้ แตกตํา่ งไปจํากแนวควํามคดิ ตํามจํารตี เกํา่ ซ่ึงเป็นแนวควํามคิดใหม่ในชั้นหลังเมื่อรับจํากแนวคิดแบบตะวันตก
ในช่วงแรกของกรุงรัตนโกสินทร์น้ันจะเห็นได้ว่ํา โลกทัศน์ควํามคิดที่ส่งผลต่อกํารก่อรูป พระเมรแุ ละพธิ กี รรมเกย่ี วเนอื่ งนนั้ เปน็ มรดกตกทอดมําจํากสมยั กรงุ ศรอี ยธุ ยําผํา่ นควํามทรงจํา และ อําจมกี ํารชํา ระรวมทงั้ ประมวลควํามทรงจํา ตํา่ งๆ บนั ทกึ เปน็ ลํายลกั ษณเ์ พอื่ ใชเ้ ปน็ ตํา รําในกํารอํา้ งองิ หลักกํารและธรรมเนียมดังปรํากฏในชุดเอกสํารจํากหอหลวงอยู่บ้ําง
งานพระเมรุ และสถาปัตยกรรมพระเมรุบนเส้นทางของความเปล่ียนแปลง
เมื่อกรุงรัตนโกสินทร์ดําเนินลมหํายใจอย่ํางมีพลวัตมําได้ระยะหน่ึง จนมีพัฒนํากํารสังคม วัฒนธรรมที่สัมพันธ์กับบริบทแวดล้อมต่ํางๆ ที่เข้ํามํารํายรอบ หําได้ผูกตนติดอยู่แต่เพียงโลกทัศน์ ที่รับสืบทอดมําจํากอยุธยําเพียงอย่ํางเดียว สําหรับกรณีของงํานพระเมรุก็เช่นเดียวกัน ในที่น้ี สันนิษฐํานว่ําโลกทัศน์ควํามคิดที่สืบทอดลงมําจํากสมัยอยุธยําที่มีบทบําทอย่ํางเคร่งครัดในช่วงต้น กรุงรัตนโกสินทร์ได้ค่อยๆ ผ่อนคลํายลง เพรําะผู้คนที่หอบสัมภําระทํางควํามคิดจํากสมัยอยุธยํา ก็เฒ่ําชรําและวํายชนม์ไปจนเกือบหมดสิ้น ที่กล่ําวเช่นนี้มีหลักฐํานให้อนุมํานจํากงํานพระเมรุใน
เสด็จสู่แดนสรวง
3๐4 ศิลปะ ประเพณี และความเชื่อในงานพระบรมศพและพระเมรุมาศ