Page 34 - เสด็จสู่แดนสรวง
P. 34

“จากเรอื่ งรกั โรแมนตคิ สกู่ ารตอ่ สทู้ างชนชนั้ อา่ นวรรณกรรม ‘สง่ ชสู้ อนสาว’ ของชาวไตดา ในเวียดนาม” โดยสรุป ดังนี้
สังคมไตไม่ได้นับถือศาสนาสากล แต่คนไตเช่ือในศาสนาแถน-ผี-ขวัญ แบบของ
ไตเอง
เกิ่ม จ่อง อธิบํายว่ํา “ขวัญก็คือผีชนิดหน่ึง มันจึงแสดงควํามเป็นเอกเทศของมันในสภําวะ ควํามเป็นจริงของเรําเอง เช่น เป็นไปได้ที่ขวัญของใครคนหนึ่งจะตกใจง่ําย แม้ว่ําตัวเขําเองจะเป็น คนจิตใจเข้มแข็ง”
ควํามเป็นเอกเทศดังกล่ําวทําให้ขวัญต้องได้รับกํารดูแลแตกต่ํางจํากร่ํางกํายคน คนไต เชื่อว่ําคนแต่ละคนมี ๘๐ ขวัญ แบ่งเป็น ๓๐ อยู่ข้ํางหน้ํา ๕๐ อยู่ด้ํานหลัง อวัยวะบํางอวัยวะมีขวัญ ของตนเอง
ขวัญมีลักษณะพิเศษคือมันมีชีวิตของมันเอง แต่มันก็อยู่เป็นส่วนหน่ึงของคนแต่ละคน ด้วยควํามเป็นตัวของตัวเองในระดับหนึ่ง ขวัญจึงอําจหนีไปจํากคนได้ทุกเมื่อ หรือบํางคร้ังขวัญ อําจจะหลงทําง หลงเพลินกับอะไรกลํางทําง หลงหลับนอนกลํางทําง ไม่มําอยู่กับเนื้อกับตัวเรํา
นั่นเป็นสําเหตุหนึ่งของควํามเจ็บป่วย หํากเป็นเช่นนั้นก็จะต้องจัดพิธีเรียกขวัญ สู่ขวัญ ขวัญจึงต้องกํารกํารบํารุงเสมอ คนไตจึงมีพิธี “ป่ําวขวัญ” เป็นกํารสวดบํารุงขวัญด้วยกํารพําขวัญ ไปเที่ยวแล้วพํากลับอย่ํางเป็นระบบ แทนท่ีจะให้มันไปเที่ยวกันเองแล้วหลงเพลินไม่กลับมํา
นอกจํากนั้น ในกํารเดินทํางไปส่งผีที่เมืองฟ้ํา บํางครั้งก็ต้องระวังว่ําขวัญของคนเป็นที่ไป ส่งผีขวัญคนตํายจะหลงตํามไปอยู่เมืองฟ้ํากับผีขวัญคนตําย จึงต้องรีบนําทํางขวัญคนเป็นกลับมํา “เมืองลุ่ม” หรือเมืองมนุษย์นั่นเอง
ขวญั ทอี่ ยรู่ อบตวั เรําไมไ่ ดม้ เี ฉพําะขวญั ของเรําเอง แตย่ งั อําจมขี วญั ของคนทผ่ี กู พนั ใกลช้ ดิ กับเรํามํากอยู่ด้วย เช่น ขวัญหญิง รู้สึกว่ําตนเองมีขวัญของขวัญชํายอยู่เคียงข้ํางเสมอ
นอกจํากขวัญ ซ่ึงเป็นแนวคิดที่คนไทยส่วนใหญ่ก็ค่อนข้ํางคุ้นเคยกันดีอยู่แล้ว สําหรับ ชําวไต คนเรํายังมีสภําพเหนือธรรมชําติข้ํางเคียงอ่ืนๆ อีก น่ันคือ “ม่ิง” “แนน” และ “หิง” มิ่งและ แนนมีควํามหมํายท่ีสัมพันธ์กันใกล้ชิด
ในภําษําไทย ลําพังคําว่ํามิ่งอําจจะฟังดูเป็นเพียงคําคล้องจองคู่กับคําว่ําขวัญ เช่น มิ่งขวัญ แต่ในควํามเข้ําใจของคนไต มิ่งและขวัญมีควํามสัมพันธ์ที่ค่อนข้ํางชัดเจนเป็นระบบ
สําหรับคนไต คําว่ํามิ่งจะคู่กับแนน อย่ํางไรก็ดี ท้ังขวัญ ม่ิง แนน ต่ํางก็มีควํามสัมพันธ์กัน อย่ํางเป็นระบบ
เก่ิม จ่อง อธิบํายมโนทัศน์ม่ิงและแนน ว่ํา “ม่ิงและแนนเป็นแนวคิดนํามธรรมท่ีมีลักษณะ รูปธรรมด่ังจุดสมดุลของขวัญ หรือกล่ําวได้ว่ํามันเป็นรํากฐํานของชีวิต หํากมิ่ง-แนนยังอยู่ ก็หมํายควํามว่ํายังมีชีวิตอยู่ ตรงกันข้ําม หํากมิ่ง-แนนพังทลํายไป ชีวิตก็หําไม่ หรือหมํายควํามว่ํา ขวัญจะแยกตัวจํากร่ํางกําย กลํายเป็นผีชนิดอื่นไปตลอดกําล”
เกิ่ม จ่อง อธิบํายเพิ่มว่ํามิ่งกับแนนให้เห็นภําพได้ด้วยอักษร T กลับหัว เส้นนอน _ คือ แนน เปน็ รํากฐําน สว่ นเสน้ ตง้ั | คอื มงิ่ ขวญั จะนง่ั หรอื ยนื บนแนนแลว้ พงิ หรอื องิ อยกู่ บั มง่ิ หรอื กลํา่ วกัน
เสด็จสู่แดนสรวง
3๒ ศิลปะ ประเพณี และความเชื่อในงานพระบรมศพและพระเมรุมาศ


































































































   32   33   34   35   36