Page 35 - เสด็จสู่แดนสรวง
P. 35

เป็นคําคล้องของภําษําไตว่ํา “นั่งใส่มิ่ง อิงใส่แนน” เรือนคนไตเมื่อก่อนจึงปลูกต้นกล้วยและต้นอ้อย ไว้แทนสัญลักษณ์ของม่ิงและแนน เพ่ือให้ขวัญของคนเป็นในเรือนมีที่นั่งท่ียืนที่อิงและพิงนั่นเอง
แนนกบั มงิ่ มคี วํามสํา คญั ตอ่ กํารมชี วี ติ อยํา่ งลกึ ซงึ้ ไมใ่ ชม่ เี พยี งระดบั ปจั เจกชน แตใ่ นควําม สัมพันธ์ระหว่ํางบุคคลและชีวิตของสังคมขนําดใหญ่ อย่ํางบ้ํานและเมือง ก็มีม่ิงกับแนนด้วยเช่นกัน
สําหรับกํารเป็นคู่ครองกัน หํากจะให้เป็นคู่ครองที่ม่ันยืน ก็จะมีกํารตรวจสอบว่ําแนนของ ทั้งสองคนนั้นเข้ํากัน เหมําะกัน หรือ “แฝงแนน” กันหรือไม่ หํากไม่แฝงแนนกัน ก็จะมีกํารทําพิธี ให้แนนของท้ังสองแฝงกันก็ได้
ในระดบั สงั คมขนําดใหญน่ น้ั นอกจํากมขี วญั ของเมอื งแลว้ แตล่ ะเมอื งยงั มกั มี “ปอมมงิ่ เมอื ง” หมํายถงึ ภเู ขําลกู หนงึ่ ของเมอื งทจี่ ะเปน็ ทฝี่ งั กระดกู ทเี่ ผําแลว้ ของเจํา้ เมอื งไว้ เขําลกู นนั้ นอกจํากมชี อื่ ของภูเขําแล้ว ยังเรียกว่ําเป็นภูเขําท่ีเป็นม่ิงของเมือง หรือเป็นที่อิงของขวัญเมืองนั้นเอง
ส่วน “หิง” เป็นมโนทัศน์ที่ไม่ค่อยเป็นที่รู้จักกันสําหรับคนไทยมํากนัก
[เกิ่ม จ่อง (๒๔๗๗-๒๕๕๐) เป็นนักปรําชญ์ชําวไทดํา (เวียดนําม) ท่ีนักวิชํากํารไทยรู้จัก ทวั่ ไปอกี ชอื่ หนงึ่ วํา่ “ศําสตรําจํารยค์ ํา จอง” ไดร้ บั ยกยอ่ งเปน็ เสําหลกั ทํางวชิ ําควํามรเู้ กยี่ วกบั ไต-ไท ในเวียดนําม ต่อมํานักวิชํากํารไทยกลุ่มหนึ่งร่วมกันพิมพ์หนังสือที่ระลึก (หลังเกิ่ม จ่อง ถึงแก่กรรม) เพอื่ ถํา่ ยทอดและแสดงคณุ ปู กําร ชอื่ ทฤษฎบี า้ นเมอื ง ศาสตราจารยค์ า จอง กบั การศกึ ษาชนชาตไิ ท ฉัตรทิพย์ นําถสุภํา, พิเชฐ สํายพันธ์ บรรณําธิกําร สํานักพิมพ์สร้ํางสรรค์ พิมพ์ครั้งแรก พ.ศ.๒๕๕๓]
คนตาย เพราะขวัญหาย
ขวัญเป็นอานาจกาหนดและกากับการมีชีวิตของมนุษย์ว่าเป็นคนหรือผี หํากขวัญ สิงสู่อยู่ตํามอวัยวะในร่ํางกํายครบถ้วน ผู้น้ันเป็นคน หํากขวัญแยกตัวหนีออกไป ผู้นั้นเป็นผี เรียก ผีคน ขวัญที่แยกตัวหนีไป เป็นผีขวัญ
[จํากบทควํามเร่ือง “ผลงํานช้ินเอกของอําจํารย์คําจอง” โดย พิเชฐ สํายพันธ์ ในหนังสือ ทฤษฎีบ้านเมืองฯ สํานักพิมพ์สร้ํางสรรค์ พิมพ์ครั้งแรก พ.ศ.๒๕๕๓ หน้ํา ๓๑]
ดว้ ยเหตนุ เี้ อง ผกี บั คนเกยี่ วขอ้ งกนั เสมอ โดยมกี จิ กรรมเซน่ ผเี ลยี้ งผี แลว้ ไปมําหําสรู่ ะหวํา่ ง ผกี บั คนไมข่ ําดดงั มขี อ้ ควํามตอนเรมิ่ ตน้ นทิ ํานลมุ่ นํา้ โขงเรอ่ื งกํา เนดิ มนษุ ยจ์ ํากนํา้ เตํา้ ปงุ กล่ําวถงึ กํา เนดิ จักรวําลมีดินหญ้ําฟ้ําแถน โดยผีกับคนไปมําหําสู่กันสม่ําเสมอว่ํา “ก่อเป็นดินเป็นหญ้าเป็นฟ้า เป็นแถน ผีแลคนเท่ียวไปมาหากันบ่ขาด”
ผีแถนและผีอ่ืนๆ มีลักษณะทุกอย่ํางเหมือนในเมืองมนุษย์ ผู้คนที่ตํายไปแล้วกลํายเป็นผี ก็ทํามําหํากิน มีชีวิตเหมือนอยู่บนโลกมนุษย์ แต่อยู่ในอีกมิติหน่ึง ซึ่งใช้ชีวิตทํานําปลูกข้ําวหุงหํา อําหํารเช่นกัน
[สรุปจํากหนังสือ ประวัติศาสตร์สิบสองจุไท ของ ภัททิยํา ยิมเรวัต สํานักพิมพ์สร้ํางสรรค์ พิมพ์ครั้งแรก พ.ศ.๒๕๔๔ หน้ํา ๒๑๘]
มีผู้รู้ระบบควํามเชื่อนี้อธิบํายว่ํา เพรําะผี (ท้ังผีคนกับผีขวัญ) จะข้ึนบนฟ้ํา ไปรวมพลังกับ ผีบรรพชนท่ีสิงสถิตอยู่ท่ีนั่นก่อนแล้ว (โดยไม่เกิดอีก) เพ่ือเป็นพลังปกป้องคุ้มครองชุมชนกับ คนเครือญําติยังมีชีวิตในโลกมนุษย์
๑
ศิลปะ ประเพณี และความเชื่อในงานพระบรมศพและพระเมรุมาศ 33
เสด็จสู่แดนสรวง


































































































   33   34   35   36   37