Page 384 - เสด็จสู่แดนสรวง
P. 384
เพื่อให้เกิดควํามเข้ําใจในสัมพันธภําพทํางวัฒนธรรมผ่ํานพระรําชพิธีพระบรมและพระเมรุระหว่ําง รําชสํานักพม่ําและไทยที่มีทั้งควํามคล้ํายคลึงและควํามแตกต่ํางกัน
พุทธศาสนากับวาระสุดท้ายของพระเจ้ามินดงศาสนทายกา
“ต่ําตะน่ํา-ดํายะก่ํา” (သာသနဒါယကာ) หรือ “ศําสนทํายก” เป็นสร้อยพระนํามของ กษัตริย์พม่ําท่ีต้องกํารกล่ําวถึงควํามสัมพันธ์ระหว่ํางพระองค์กับศําสนํา แต่โบรําณมํากษัตริย์พม่ํา ได้คัดสรรคําสอนในพุทธศําสนํามําใช้เป็นหลักปฏิบัติในกํารอ้ํางอิงตนเองเพื่อให้เข้ําถึงอุดมคติ ทั้งในทํางโลกและทํางธรรม ดังเห็นได้จํากเหตุกํารณ์สวรรคตของพระเจ้ํามินดงที่สะท้อนให้เห็น แนวคิดทํางศําสนําท่ีส่งอิทธิพลต่อกํารกําหนดกรอบคิดและวิธีกํารเตรียมพระองค์ก่อนเข้ําสู่วําระ สุดท้ํายแห่งพระชนม์ชีพ ด้วยฐํานะกํารเป็นศําสนทํายกําผู้บําเพ็ญบํารมีมําดีแล้วเชื่อว่ําจะนําพําให้ พระองค์กลับไปสู่สวรรค์บรมสุข ดังปรํากฏอยู่ในโกงบ่องแซะก์มหายาซาวีงดอจี เล่ม ๓ (1989: 439-440) ควํามว่ํา
“...ในปีนั้น [พ.ศ.๒๔๐๙] เดือนกันยายน พระเจ้าช้างเผือกมหาธรรมราชา มพี ระโรคเวทนามไิ ดถ้ อยทเุ ลา พระมเหสแี มเ่ จา้ ชา้ งเผอื ก กบั วงั หนา้ พระมหาอปุ ราชา มหาเสนาบดี ขุนวัง กับทั้งผู้มีตาแหน่งในราชการท้ังหลายต่างจัดข้าว น้า ดอกไม้ พร้อมประทีปท้ังหลายไปถวายบูชาแด่พระมหาเจดีย์ ต้นพระศรีมหาโพธ์ิ และ พระพุทธรูปทั้งหลายทั่วในพระนครมิได้ขาด ทั้งปล่อยปลดลดโทษคนผู้ละเมิด ราชวตั รเสยี จากคกุ และพนั ธนาการทงั้ หลายไมเ่ อาชวี ติ ... แตค่ รนั้ พระอาการไมท่ เุ ลา พระมหากษัตริย์เจ้าก็ทรงวางพระทัยให้เห็นเป็นธรรมดาไม่ทรงนึกถึง
ปี ๑๒๔๐ [พ.ศ.๒๔๒๑] เดือนตุลาคม ข้างขึ้น วันอังคารท่ี ๖ เวลาเช้า ๒ แชะก์ตี ราว ๖ โมง ทรงหน่ายมนุษยโลกเสด็จประทับสาราญยังสวรรค์ ในเวลาก่อน สวรรคต ทรงสะกดกลั้นพระเวทนาไว้ให้ถอยทุเลาด้วยไตรลักษณ์ อนุสติสิบ อสุภ กรรมฐาน กาหนดไว้ในพระทัยเสมอ ครั้นพระราชทานโอวาทแก่บรรดาผู้ถวาย การดูแล... แล้วก็เสด็จสวรรคตด้วยพระอาการสงบ...”
พระบรมรปู ของพระเจํา้ มนิ ดงทหี่ นํา้ วดั กโุ สดอ เมอื งมณั ฑะเลย์ (Yarzaryeni 2017)
เสด็จสู่แดนสรวง
3๘๒ ศิลปะ ประเพณี และความเช่ือในงานพระบรมศพและพระเมรุมาศ